ปัญหาและเฉลย
วิชาพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นตรี
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๔.๐๐ - ๑๔.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
เรียนพุทธประวัติทำให้ทราบความเป็นไปของใคร ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระสาวก
ค.
บริษัท ๔
ง.
สหธรรมิก ๕
๒.
ประโยชน์ในการเรียนรู้พุทธประวัติ คือข้อใด ?
ก.
ได้แนวทางปฏิบัติ
ข.
ได้ทราบเรื่องราว
ค.
ได้ความเพลิดเพลิน
ง.
ได้ทราบวัฒนธรรม
๓.
สาเหตุหลักที่ทำให้พวกอริยกะเจริญกว่าพวกมิลักขะ คืออะไร ?
ก.
การรบ
ข.
การเศรษฐกิจ
ค.
การศึกษา
ง.
เผ่าพันธุ์
๔.
นครที่ได้นามว่ากบิลพัสดุ์ เพราะเหตุใด ?
ก.
ที่อยู่ของปัญจวัคคีย์
ข.
ที่ตั้งของสักกชนบท
ค.
ที่อยู่ของกาฬเทวิลดาบส
ง.
ที่อยู่ของกบิลดาบส
๕.
พระโคตรของพระมหาบุรุษ มีความหมายเนื่องมาจากสิ่งใด ?
ก.
ภูเขาหิมาลัย
ข.
ดงไม้สักกะ
ค.
พระอาทิตย์
ง.
พระจันทร์
๖.
พระเจ้าสุทโธทนะ เป็นอะไรกับเจ้าชายสิทธัตถะ ?
ก.
พระเจ้าปู่
ข.
พระเจ้าตา
ค.
พระบิดา
ง.
พระเจ้าอา
๗.
การถวายพระนามเจ้าชายสิทธัตถะ เมื่อประสูติได้กี่วัน ?
ก.
๓ วัน
ข.
๕ วัน
ค.
๗ วัน
ง.
๙ วัน
๘.
ผู้ใด ได้กราบพระบาทของเจ้าชายสิทธัตถะก่อนผู้อื่น ?
ก.
อาฬารดาบส
ข.
อุททกดาบส
ค.
อสิตดาบส
ง.
กัสสปดาบส
๙.
ครูคนแรกของเจ้าชายสิทธัตถะ คือใคร ?
ก.
วิศวามิตร
ข.
อุททกดาบส
ค.
อสิตดาบส
ง.
อาฬารดาบส
๑๐.
พระมารดาสิ้นพระชนม์ เมื่อเจ้าชายสิทธัตถะประสูติได้กี่วัน ?
ก.
๓ วัน
ข.
๕ วัน
ค.
๗ วัน
ง.
๑๕ วัน
๑๑.
ผู้ใด เลี้ยงเจ้าชายสิทธัตถะ หลังจากพระมารดาสิ้นพระชนม์ ?
ก.
พระนางปมิตา
ข.
พระนางอมิตา
ค.
พระนางกัญจนา
ง.
พระนางปชาบดี
๑๒.
เจ้าชายสิทธัตถะ เจริญสมาธิใต้ต้นหว้าในงานมงคลใด ?
ก.
แต่งงาน
ข.
แรกนาขวัญ
ค.
ฉลองปราสาท
ง.
ขึ้นปีใหม่
๑๓.
ข้อใด ไม่จัดอยู่ในเทวทูต ๔ ?
ก.
คนเกิด
ข.
คนแก่
ค.
คนเจ็บ
ง.
คนตาย
๑๔.
ผู้ใด ถวายบริขารแก่เจ้าชายสิทธัตถะ เมื่อเสด็จออกผนวช ?
ก.
ท้าวมหาพรหม
ข.
สหัมบดีพรหม
ค.
ฆฏิการพรหม
ง.
พระอินทร์
๑๕.
พระมหาบุรุษได้แบบอย่างการบำเพ็ญทุกรกิริยาจากใคร ?
ก.
ปัญจวัคคีย์
ข.
อาฬารดาบส
ค.
อุทกดาบส
ง.
นักบวชสมัยนั้น
๑๖.
พระมหาบุรุษทรงเลิกบำเพ็ญทุกรกิริยา เพราะเหตุใด ?
ก.
ไม่ได้ผลที่มุ่งหมาย
ข.
ไม่ใช่ทางตรัสรู้
ค.
เห็นทางตรัสรู้
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๗.
ใครเป็นผู้ถวายข้าวมธุปายาสแก่พระมหาบุรุษ ?
ก.
นางสุชาดา
ข.
นางวิสาขา
ค.
พระนางปชาบดี
ง.
พระนางอมิตา
๑๘.
มารที่พระมหาบุรุษทรงเอาชนะได้ในคราวตรัสรู้ ได้แก่อะไร ?
ก.
กิเลส
ข.
มารจริงๆ
ค.
เจ้าลัทธิอื่น
ง.
เทวดามิจฉาทิฏฐิ
๑๙.
กามสุขัลลิกานุโยค คืออะไร ?
ก.
ทรมานตน
ข.
เป็นผู้มักมาก
ค.
พัวพันในกาม
ง.
ทำตนให้ลำบาก
๒๐.
ญาณใด เป็นเหตุให้สิ้นอาสวะในวันตรัสรู้ ?
ก.
ปุพเพนิวาสานุสสติญาณ
ข.
จุตูปปาตญาณ
ค.
อาสวักขยญาณ
ง.
ทิพพจักขุญาณ
๒๑.
พระยามารปราชัยต่อพระมหาบุรุษ เพราะธรรมอะไร ?
ก.
อริยสัจ ๔
ข.
อิทธิบาท ๔
ค.
พละ ๕
ง.
บารมี ๑๐
๒๒.
ความหมายของพระนามว่า
“อรหํ”
ตรงกับข้อใด ?
ก.
ผู้บริสุทธิ์จากกิเลส
ข.
ผู้ตรัสรู้ชอบเอง
ค.
ผู้มีโชค
ง.
ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน
๒๓.
พระพุทธเจ้าทรงตั้งพระทัย จะแสดงธรรมแก่ใครเป็นคนแรก ?
ก.
พระบิดา
ข.
ปัญจวัคคีย์
ค.
อสิตดาบส
ง.
อาฬารดาบส
๒๔.
พระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมครั้งแรก ชื่อว่าอะไร ?
ก.
อาทิตตปริยายสูตร
ข.
เวทนาปริคคหสูตร
ค.
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
ง.
อนัตตลักขณสูตร
๒๕.
ทางสายกลาง คืออะไร ?
ก.
มรรคมีองค์ ๘
ข.
วิชชา ๘
ค.
อริยบุคคล ๘
ง.
สมาบัติ ๘
๒๖.
ปฐมสาวกในพระพุทธศาสนา คือใคร ?
ก.
พระสารีบุตร
ข.
พระโกณฑัญญะ
ค.
พระมหานามะ
ง.
พระอัสสชิ
๒๗.
“ขันธ์ ๕ เป็นของไม่เที่ยง เป็นทุกข์ เป็นอนัตตา”
เป็นใจความสำคัญ
ของพระสูตรใด ?
ก.
ธัมมจักกัปปวัตนสูตร
ข.
อนัตตลักขณสูตร
ค.
อาทิตตปริยายสูตร
ง.
เวทนาปริคคหสูตร
๒๘.
อุบาสกคนแรกผู้ถึงพระรัตนตรัย คือใคร ?
ก.
ตปุสสะ
ข.
ภัลลิกะ
ค.
บิดาของยสะ
ง.
อุปกาชีวก
๒๙.
ชฎิล ๓ พี่น้องพร้อมบริวารบรรลุพระอรหัต เพราะฟังธรรมใด ?
ก.
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
ข.
อนัตตลักขณสูตร
ค.
อาทิตตปริยายสูตร
ง.
เวทนาปริคคหสูตร
๓๐.
วัดเวฬุวันที่พระเจ้าพิมพิสารถวาย มีลักษณะอย่างไร ?
ก.
มีเสนาสนะครบถ้วน
ข.
มีป่าไผ่และเสนาสนะ
ค.
มีเฉพาะป่าไผ่
ง.
มีต้นตาลและป่าไผ่
๓๑.
อุปติสสะได้ดวงตาเห็นธรรม เพราะฟังธรรมจากใคร ?
ก.
พระโกณฑัญญะ
ข.
พระอัสสชิ
ค.
พระภัททิยะ
ง.
พระมหานามะ
๓๒.
พระสารีบุตรสิ้นอาสวะ ขณะพระพุทธเจ้าทรงแสดงธรรมแก่ใคร ?
ก.
พระอุรุเวลกัสสปะ
ข.
พระโมคคัลลานะ
ค.
ทีฆนขปริพาชก
ง.
สัญชัยปริพาชก
๓๓.
พระสารีบุตรมีวัตรปฏิบัติอะไร ที่ควรถือเป็นแบบอย่าง ?
ก.
มีวาจาสัตย์
ข.
มีความกตัญญู
ค.
มีความเคารพอาจารย์
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๔.
โกลิตะได้ดวงตาเห็นธรรม เพราะฟังธรรมจากใคร ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระอัสสชิ
ค.
อุปติสสะ
ง.
สัญชัยปริพาชก
๓๕.
ผู้ถวายบิณฑบาตครั้งสุดท้าย คือใคร ?
ก.
อนาถปิณฑิกะ
ข.
วิสาขา
ค.
สุชาดา
ง.
จุนทะ
๓๖.
เมื่อปรินิพพานแล้ว จัดพุทธสรีระตามแบบไหน ?
ก.
พระเจ้าจักรพรรดิ
ข.
พระราชา
ค.
พราหมณ์
ง.
สามัญชน
๓๗.
ใครเป็นสาวกองค์สุดท้ายของพระพุทธเจ้า ?
ก.
พระฉันนะ
ข.
พระกาฬุทายี
ค.
พระภัททิยะ
ง.
พระสุภัททะ
๓๘.
ก่อนเสด็จปรินิพพาน พระองค์ตั้งใครเป็นศาสดาแทน ?
ก.
พระอานนท์
ข.
พระมหากัสสปะ
ค.
พระไตรปิฏก
ง.
พระธรรมวินัย
๓๙.
โอวาทครั้งสุดท้าย มีใจความสำคัญว่าด้วยเรื่องอะไร ?
ก.
ความไม่ประมาท
ข.
ความตาย
ค.
ความเพียร
ง.
ความสามัคคี
๔๐.
ใจความสำคัญในสุนทรพจน์ของโทณพราหมณ์ คืออะไร ?
ก.
ให้มีความสามัคคีกัน
ข.
ให้มีเมตตาต่อกัน
ค.
ให้มีความเที่ยงธรรม
ง.
ให้มีทศพิธราชธรรม
ศาสนพิธี
๔๑.
“ผู้นับถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของเรา”
ตรงกับข้อใด ?
ก.
อุบาสก
ข.
อุบาสิกา
ค.
พุทธมามกะ
ง.
ศาสนิก
๔๒.
การเวียนเทียนในวันวิสาขบูชา จัดเข้าในพิธีใด ?
ก.
กุศลพิธี
ข.
บุญพิธี
ค.
ทานพิธี
ง.
พิธีเบ็ดเตล็ด
๔๓.
วันเพ็ญขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘ ตรงกับวันอะไร ?
ก.
วันมาฆบูชา
ข.
วันวิสาขบูชา
ค.
วันอัฏฐมีบูชา
ง.
วันอาสาฬหบูชา
๔๔.
ข้อใด ไม่ใช่วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ?
ก.
วันมาฆบูชา
ข.
วันวิสาขบูชา
ค.
วันอัฏฐมีบูชา
ง.
วันสงกรานต์
๔๕.
งานอวมงคล ได้แก่งานเช่นใด ?
ก.
งานแต่งงาน
ข.
งานโกนจุก
ค.
งานขึ้นบ้านใหม่
ง.
งานศพ
๔๖.
ปาฏิบุคลิกทาน หมายถึงทานประเภทใด ?
ก.
ถวายไม่เจาะจง
ข.
ถวายเจาะจง
ค.
ถวายพระทั่วไป
ง.
ถวายสังฆทาน
๔๗.
ผ้าที่มีกำหนดเวลาในการถวาย คือข้อใด ?
ก.
ผ้าป่า
ข.
ผ้านิสีทนะ
ค.
ผ้ากฐิน
ง.
ผ้าบังสุกุล
๔๘.
เบญจางคประดิษฐ์ หมายถึงการกราบเช่นไร ?
ก.
กราบครบองค์ ๕
ข.
กราบครบองค์ ๘
ค.
กราบ ๕ ครั้ง
ง.
กราบ ๓ ครั้ง
๔๙.
พระสงฆ์สาธยายมนต์ ในงานมงคลใช้คำว่าอะไร ?
ก.
เจริญพระพุทธมนต์
ข.
สวดพระพุทธมนต์
ค.
แสดงพระธรรมเทศนา
ง.
สวดพระปริตร
๕๐.
สิ่งใด ไม่ต้องจัดเตรียมไว้ในงานอวมงคล ?
ก.
พระพุทธรูป
ข.
ขันน้ำมนต์
ค.
ผ้าภูษาโยง
ง.
ที่กรวดน้ำ
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๙. หน้า
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐