ประกาศมหาเถรสมาคมเรื่อง ทบทวนการไม่ทอดทิ้งประชาชนอันว่าการไม่ทอดทิ้ง ประชาชนนั้นเป็นปถมเหตุของ พระพุทธเจ้าหลังจากตรัสรู้ไหม่ๆและก่อนจะ เสด็จ เที่ยวจาริคไปเพื่อประกาสพรหมจรรย์หรือทรงแสดงพระธรรมเทสนาสั่ง สอนเวไนย สัตต์ หลักความในเรื่องนี้มีปรากดในพระประวัตของพระพุทธเจ้าทั้ง ในฉบับภาสา บาลี ทั้งในฉบับภาสาไทยในการเสด็จกลับมาประทัพ ณภายใต้ร่มไม้อฌปาลนิ โครธครั้งนี้พระ พุทธองค์ทรงพิจารณาถึงธรรมที่พระองค์ได้ตรัดรู้ แล้วว่าเป็นคุนอัน ลึกยากที่บุคคลผู้ยินดี ในกามคุนจะตรัดรู้ตามได้้พระหฤทัยของ พระองค์ก็ทรง น้อมไปเพื่อความฝน ฝายน้อยคือจะไม่ตรัดสั่งสอนเวไนยสัตต์ หมายความว่าจะ ทรงทอดทิ้งประชาชนไว้ตามลำพังหรือตามยถากรรม แต่อาสัยกำลังพระมหากรุนา ธิคุนอันใหญ่หลวงดุจห้วงมหรรนพ จึงทรงพิจารณาอีกเล่า ด้วยพระพุทธยาน ก็ทรงทราบว่า เวไนยสัตต์ที่มีอินทรีย์อุปนิสัยที่พอจะตรัดรู้ตาม ได้มีอยู่ และลองๆ ลงไปก็ยังมีอีกเป็นจำนวนมากมีเว้นก็เฉพาะบุคคลจำนวนน้อย ที่มิใช่เวไนยสัตต์คือ ไม่รับแนะนำเมื่อเป็นเช่นนั้น พระธรรมเทสนาคงไม่ไร้ผลจัก ยังประโยชน์ให้สำเร็ด แก่บุคคลทั่วไปครั้นทรง ทราบด้วยพระพุทธยานดังกล่าว ได้ทรงอธิฏฐานพระหฤทัย ในกาลที่จะทรงแสดงธรรมสั่งสอนเวไนยสัตต์ทั่วไป ประพฤติเหตในตอนนี้ชี้ให้ เห็น ชัดว่าพระพุทธองค์มิได้ทรงทอดทิ้งมหาชนด้วยแลงแห่งพระมหากรุนาธิคุนดังกล่าว แล้วพุทธสาวกในยุกพุทธกาลได้ยึดหลัก ปฏิบัตการตามลอยพระพุทธบาดยุคน ในเรื่องนี้ตลอดมากล่าวได้เต็มปากเต็มคำ ว่าพระบวรพุทธศาสนาเกิดขึ้นได้ ในโลก แพร่หลายในโลกตั้งอยู่หยู่ในโลกไม่ว่า จะเป็นในยุกพุทธกาลหรือหลัง พุทธกาลก็ เพราะเหตที่พระพุทธองค์ไม่ทรงทอด ทิ้งประชาชนเป็นดั้งเดิมและ พุทธศาวกได้ เจริญลอยตามพระพุทธบาดยุคนใน เรืองนี้ติดต่อสืบเนื่องมาทุกยุก ทุกสมัยไม่ขาด สายมีความจริงเป็นหลักยืนได้ เที่ยงแท้แน่นอนในที่ทุกสฐานในกาลทุกเมือง ฯลฯประกาสนวันที่๑มิถุนายนพ.ส.๒๕๒๙สมเด็ดพระอริยวงศาคตญาณ (สมเด็ดพระ อริยวงศาคตญาณ) สมเด็จ พระสังฆราชสกลมหาสังฆปรินายกประธานกรรมการ มหาเถรสมาคม