หลักสัมพันธ์
คุณนาม
เข้ากับนามนามบ้าง สัพพนามบ้าง
แปลว่า ผู้ ตัว มี อัน เรียกว่า วิเสสน
 
นามนามและสัพพนาม
ปฐมาวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง
๑. เป็นประธานในประโยค กตฺตุวาจก เรียกว่า สยกตฺตา
๒. เป็นประธานในประโยค เหตุกตฺตุวาจก " เหตุกตฺตา
๓. เป็นประธานในประโยค กมฺมวาจก และ เหตุกมฺมวาจก " วุตฺตกมฺม
๔. เป็นประธานในประโยค กิริยาปธานนัย
(ตฺวา ปัจจัยคุมพากย์)
" ปกติกตฺตา
๕. เป็นประธานในประโยค ที่ไม่มีกิริยาคุมพากย์ " ลิงฺคตฺถ
๖. เป็นประธานในประโยค เปรียบเทียบ (ควบด้วย วิย
หรือ อิว ศัพท์)
" อุปมาลิงฺคตฺถ

ทุติยาวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับกิริยา
         
๑. แปลว่า ซึ่ง เรียกว่า อวุตฺตกมฺม
๒. " สู่ " สมฺปาปุณิยกมฺม
๓. " ยัง " การิตกมฺม
๔. " สิ้น, ตลอด " อจฺจนฺตสํโยค
๕. " กะ, เฉพาะ " อกถิตกมฺม
๖. แปล ไม่ออกสำเนียงอายตนิบาต " กิริยาวิเสสน

ตติยาวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง
อัพยยศัพท์บ้าง
         
๑. แปลว่า ด้วย เรียกว่า กรณ
๒. " โดย, ตาม, ทาง, ข้าง " ตติยาวิเสสน
๓. " อัน " อนภิหิตกตฺตา
๔. " เพราะ " เหตุ
๕. " มี (เข้ากับนาม), ด้วยทั้ง (เข้ากับกิริยา) " อิตฺถมฺภูต
๖. " ด้วย (เข้ากับ สห หรือ สทฺธึ ศัพท์) " สหตฺถตติยา

จตุตถีวิภัตติ ใช้ในอรรถอย่างเดียว เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง
         
๑. แปลว่า แก่, เพื่อ, ต่อ เรียกว่า สมฺปทาน

ปัญจมีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง
อัพยยศัพท์บ้าง
         
๑. แปลว่า แต่, จาก, กว่า เรียกว่า อปาทาน
๒. " เหตุ, เพราะ " เหตุ

ฉัฏฐีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๖ อย่าง เข้ากับนาม
         
๑. แปลว่า แห่ง, ของ เนื่องด้วยเป็นเจ้าของ เรียกว่า สามีสมฺพนฺธ
๒. " แห่ง, ของ เข้ากับภาวศัพท์ ปัจจัยใน
ภาวตัทธิต และศัพท์ที่แปลว่า ความ,
การ, อัน
" ภาวทิสมฺพนฺธ
๓. " แห่ง เนื่องในหมู่ " สมุหสมฺพนฺธ
๔. " แห่ง...หนา (เป็นที่ถอนออก) " นิทฺธารณ
(มี นิทฺธารณีย รับ)
๕. " เมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก " อนาทร
(มี อนาทรกิริยา รับ)
๖. " ซึ่ง เข้ากับนามกิตก์ (ณฺวุ ตุ ยุ ปัจจัย) " ฉฏฺีกมฺม

สัตตมีวิภัตติ ใช้ในอรรถ ๑๒ อย่าง เข้ากับนามบ้าง กิริยาบ้าง
         
๑. แปลว่า ใน เป็นที่กำบัง เป็นที่ปกปิด เรียกว่า ปฏิจฺฉนฺนาธาร
๒. " ใน เป็นที่ซึมซาบ " พฺยาปิกาธาร
๓. " ใน เป็นที่อยู่อาศัย " วิสยาธาร
๔. " ใน ไม่ลงในอรรถไหน เข้ากับกิริยา " อาธาร
๕. " ใน ไม่ลงในอรรถไหน เข้ากับนาม " ภินฺนาธาร
๖. " ใน, ณ เกี่ยวกับกาลเวลา " กาลสตฺตมี
๗. " ในเพราะ เป็นเครื่องหมาย " นิมิตฺตสตฺตมี
๘. " ใน...หนา (เป็นที่ถอนออก) " นิทฺธารณ
(มี นิทฺธารณีย รับ)
๙. " ครั้นเมื่อ เป็นประธานในประโยคแทรก " ลกฺขณ
(มี ลกฺขณกิริยา รับ)
๑๐. " เหนือ, บน, ที่ เป็นที่รองรับ " อุปสิเลสิกาธาร
๑๑. " ใกล้, ณ เป็นที่ใกล้เคียง " สมีปาธาร
๑๒. " อันว่า (อ.) ลงในอรรถปฐมาวิภัตติ " สตฺตมีปจฺจตฺต-
สยกตฺตา

อาลปนนาม
สัมพันธ์แล้วปล่อย
         
  แปลว่า แน่ะ, ดูก่อน, ข้าแต่ เรียกว่า อาลปน

วิเสสน
เข้ากับนามบ้าง สัพพนามบ้าง
         
๑. คุณนาม เรียกว่า วิเสสน
๒. วิเสสนสัพพนาม " วิเสสน
๓. นามกิตก์ ที่เป็นคุณนาม " วิเสสน
๔. อนฺต และ มาน ปัจจัย อยู่หน้าตัวประธาน หรือ
ประกอบด้วยวิภัตติอื่นจากปฐมาวิภัตติ จะอยู่
หน้าหรือหลังตัวประธานก็ตาม

"

วิเสสน
๕. ต อนีย และ ตพฺพ ปัจจัย ที่ไม่ได้เป็นกิริยา
คุมพากย์ หรือ วิกติกตฺตา

"

วิเสสน
๖. ตูนาทิ ปัจจัย แปลไม่ออกสำเนียงปัจจัย
หลังนาม
" วิเสสน
๗. สมาสคุณนาม และ ตัทธิตคุณนาม " วิเสสน

ประธานพิเศษไม่แจกวิภัตตินาม
         
๑. ตถา อ. เหมือนอย่างนั้น เรียกว่า ลิงฺคตฺถ
๒. เอวํ อ. อย่างนั้น " สจฺจวาจกลิงฺคตฺถ
๓. อลํ อ. อย่าเลย " ปฏิเสธลิงฺคตฺถ
๔. อลํ อ. พอละ " ลิงฺคตฺถ
๕. อชฺช อ. วันนี้ " สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา
๖. อิทานิ อ. กาลนี้ " สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา
๗. ตทา อ. กาลนั้น " สตฺตมีปจฺจตฺตสยกตฺตา
๘. ตุ ปัจจัย ใช้เป็นประธาน เช่น กาตุุ " ตุมตฺถกตฺตา
๙. สาธุ อ. ดีละ " ลิงฺคตฺถ

กิริยาคุมพากย์
         
ได้แก่ กิริยา ดังต่อไปนี้
๑. กิริยาอาขยาต เรียกว่า อาขฺยาตบท
  คุมพากย์ในประโยค กตฺตุวาจก " อาขฺยาตบท กตฺตุวาจก
  " กมฺมวาจก " อาขฺยาตบท กมฺมวาจก
  " ภาววาจก " อาขฺยาตบท ภาววาจก
  " เหตุกตฺตุวาจก " อาขฺยาตบท เหตุกตฺตุวาจก
  " เหตุกมฺมวาจก " อาขฺยาตบท เหตุกมฺมวาจก
๒. นามกิตก์ ได้แก่ ณฺย ปัจจัย
ใช้คุมพากย์ เช่น คารยฺหา
" กิตบท กมฺมวาจก
๓. กิริยากิตก์ ได้แก่ ต อนีย ตพฺพ
ปัจจัย ใช้คุมพากย์
" กิตบท
  คุมพากย์ในประโยค กตฺตุวาจก " กิตบท กตฺตุวาจก
  " กมฺมวาจก " กิตบท กมฺมวาจก
  " ภาววาจก " กิตบท ภาววาจก
  " เหตุกตฺตุวาจก " กิตบท เหตุกตฺตุวาจก
  " เหตุกมฺมวาจก " กิตบท เหตุกมฺมวาจก
๔. ตฺวา ปัจจัย คุมพากย์ " กิริยาปธานนัย
๕. สกฺกา อลํ ลพฺภา คุมพากย์ " กิริยาบท
  คุมพากย์ในประโยค กมฺมวาจก " กิริยาบท กมฺมวาจก
  " ภาววาจก " กิริยาบท ภาววาจก
๖. อนฺต มาน ปัจจัย ประกอบด้วย
ฉัฏฐีวิภัตติ เป็นกิริยาของประโยค
อนาทร
" อนาทรกิริยา
๗. อนฺต มาน ปัจจัย ประกอบด้วย
สตฺตมีวิภัตติ เป็นกิริยาของประโยค
ลักขณะ
" ลกฺขณกิริยา

กิริยาในระหว่าง
         
ได้แก่ กิริยา ดังต่อไปนี้
๑. อนฺต มาน ปัจจัย ประกอบด้วยปฐมวิภัตติ
อยู่หลังตัวประธาน
เรียกว่า อพฺภนฺตรกิริยา
๒. ตูนาทิ ปัจจัย (ตูน ตฺวา ตฺวาน)    
  แปลว่า แล้ว แปลตามลำดับกิริยา " ปุพฺพกาลกิริยา
  แปลว่า แล้ว แปลหลังกิริยาคุมพากย์ " อปรกาลกิริยา
  แปลว่า เพราะ แปลหลังกิริยาคุมพากย์ " เหตุกาลกิริยา
หรือ เหตุ
  แปลไม่ออกสำเนียงปัจจัย ตามลำดับกิริยา " สมานกาลกิริยา
  แปลไม่ออกสำเนียงปัจจัย หลังกิริยา " กิริยาวิเสสน
  แปลว่า ครั้น...แล้ว " ปริโยสานกาลกิริยา

อิติ ศัพท์
         
เรียกชื่อสัมพันธ์ได้ ๙ อย่าง ดังนี้
๑. แปลว่า ว่า...ดังนี้ อมความไว้เต็มที่ เข้ากับกิริยา เรียกว่า อาการ
๒. " ว่า...ดังนี้ อมความไว้เต็มที่ เข้ากับนาม " สรูป
๓. " ว่า...ดังนี้เป็นต้น อมความไว้ไม่หมด เข้ากับนาม หรือ กิริยา " อาทยตฺถ
๔. " ชื่อว่า ใช้บอกชื่อ เข้ากับศัพท์ภายใน อิติ " สญฺาโชตก
๕. " เพราะเหตุนี้ วางไว้เป็นตัวอย่าง
(ไม่เข้าสัมพันธ์)
" นิทสฺสน
๖. " เพราะเหตุนั้น ในรูปวิเคราะห์
(ไม่เข้าสัมพันธ์)
" เหตฺวตฺถ
๗. " ด้วยประการฉะนี้ สรุปข้อความ (ไม่เข้าสัมพันธ์) " ปการตฺถ
๘. " คือ อมความข้างใน แต่สัมพันธ์เข้าข้างนอก " สรูป
๙. " แล ดังนี้แล เมื่อจบเรื่อง ถ้ามี อิติ ตัวเดียว " สมาปนฺน
    ถ้ามี อิติ ๒ ตัว ตัวที่ ๑ " สมาปนฺน
      ตัวที่ ๒ " ปริสมาปนฺน

ประมวลชื่อสัมพันธ์นิบาตหมวดต่างๆ
         
๑. นิบาตบอกอาลปนะ เรียกว่า อาลปน
๒. นิบาตบอกกาล " กาลสตฺตม
๓. นิบาตบอกที่ " อาธาร
๔. นิบาตบอกปริจเฉท " ปริจฺเฉทนตฺถ
๕. นิบาตบอกความถาม " ปุจฺฉนตฺถ
๖. นิบาตบอกความรับ " สมฺปฏิจฺฉนตฺถ
๗. นิบาตบอกความเตือน " อุยฺโยชนตฺถ
๘. นิบาตบอกความได้ยินเล่าลือ " อนุสฺสวนตฺถ
๙. นิบาตบอกประการ " ปการตฺถ
๑๐. นิบาตบอกอย่างอื่นแปลผิดจากปกติเดิมหลังกิริยา " กิริยาวิเสสน

 

หิ จ ปน ตุ
         
๑. หิ จ ปน ตุ แปลว่า ก็ เรียกว่า วากฺยารมฺภ หรือ
วากฺยารมฺภโชตก
๒. หิ จ ปน " เหมือนอย่างว่า หลัง ยถา " ตปฺปาฏิกรณโชตก
๓. จ ปน " อนึ่ง " สมฺปิณฺฑนตฺถ
๔. หิ จ " จริงอยู่ " ทฬฺหีกรณโชตก
๕. ปน " ถึงอย่างนั้น หลัง กามํ กิญฺจาปิ " อรุจิสูจนตฺถ
๖. ปน " แต่ว่า ประธานตัวเดียวกัน " วิเสสโชตก
๗. ปน " ส่วนว่า ต่างประธานกัน " ปกฺขนฺตรโชตก

หิ
         
๑. แปลว่าุ ดังจะกล่าวโดยย่อ เรียกว่า สงฺเขปโชตก
๒. " ดังจะกล่าวโดยพิสดาร " วิตฺถารโชตก
๓. " เพราะว่า เหตุว่า " เหตุโชตก หรือ
การณโชตก
๔. " ด้วยว่า " ผลโชตก

         
๑. แปลว่าุ ด้วย ควบบท เรียกว่า ปทสมุจฺจยตฺถ
๒. " ด้วย ควบพากย์ " วากฺยสมุจฺจยตฺถ

วา
         
๑. แปลว่าุ หรือ หรือว่า ควบบท เรียกว่า ปทวิกปฺปตฺถ
๒. " หรือ หรือว่า ควบพากย์ " วากฺยวิกปฺปตฺถ

วิย อิว ยถา เสยฺยถา
         
  แปลว่าุ ราวกะ, เพียงดัง, ฉันใด เรียกว่า อุปมาโชตก

ตถา, เอวํ
         
  แปลว่าุ ฉันนั้น เรียกว่า อุปเมยฺยโชตก

น, โน, มา
         
๑. แปลว่าุ ไม่, อย่า ปฏิเสธเฉพาะศัพท์หรือบท เรียกว่า ปฏิเสธ
๒. " หามิได้, อย่า ปฏิเสธทั้งประโยค " ปฏิเสธนตฺถ

ว, เอว
         
  แปลว่าุ เทียว, นั่นเทียว เรียกว่า อวธารณ

กิร, ขลุ, สุทํ
         
  แปลว่าุ ไ้ด้ิยินว่า เรียกว่า อนุสฺสวนตฺถ

เจ, ยทิ, สเจ, อถ, อปฺเปว นาม, ยนฺนูน
         
  แปลว่าุ หากว่า, ผิว่า, ถ้าว่า, ชื่อแม้ไฉน กระไรหรอ เรียกว่า ปริกปฺปตฺถ

ปน, กึ, กถํ, กจฺจิ, นุ, นนุ, อุทาหุ, อาทู, เสยฺยถีทํ
         
  แปลว่าุ ก็ (กิมงฺคํ ปน), หรือ, อะไร, อย่างไร, แลหรือ,
หนอ, มิใช่หรือ, หรือว่า, อย่างไรนี้
เรียกว่า ปุจฺฉนตฺถ

อาม, อามนฺตา
         
  แปลว่าุ เออ, ขอรับ เรียกว่า สมฺปฏิจฺฉนตฺถ

อิงฺฆ, ตคฺฆ, หนฺท
         
  แปลว่าุ เชิญเถิด, เอาเถิด เรียกว่า อุยฺโยชนตฺถ

น, วต, สุ, โข, เว, หเว, โว
         
  แปลว่าุ หนอ, สิ, แล, เว้ย, โว้ย อยู่ในคาถา เรียกว่า ปทปูรณ
    อยู่นอกคาถา " วจนาลงฺการ

อญฺญทตฺถุ, กามํ, กามญฺจ กิญฺจาปิ
         
  แปลว่าุ โดยแท้, แม้หน่อยหนึ่ง, แม้ก็จริง เรียกว่า อนุคฺคหตฺถ

จ, ปน, อโถ
         
  แปลว่าุ อนึ่ง เรียกว่า สมฺปิณฺฑนตฺถ

อโห
         
๑. แปลว่าุ โอ ดีใจ เรียกว่า อจฺฉริยตฺถ
๒. " โอ เสียใจ " สํเวคตฺถ

นีจํ, อุจฺจํ
         
  แปลว่าุ ต่ำ, สูง เรียกว่า วิเสสน

ปจฺฉา
         
  แปลว่าุ ในภายหลัง เรียกว่า กาลสตฺตมี

สทฺธึ, สห
         
  แปลว่าุ กับ เข้ากับนาม เรียกว่า ทพฺพสมวาย
  " กับ เข้ากับกิริยา " กิริยาสมวาย

ตถาปิ, อถโข
         
  แปลว่าุ แม้ถึงอย่างนั้น, โดยที่แท้แล เรียกว่า อรุจิสูจนตฺถ

ปิ, อปิ
         
  แปลว่าุ แม้ เรียกว่า อเปกฺขตฺถ

วา, อถวา, อปิจ
         
  แปลว่าุ อีกอย่างหนึ่ง เรียกว่า อปรนัย

จ ปน
         
  แปลว่าุ ก็แล (รวมถึงนิบาตที่แปลรวมกันแม้
กลุ่มอื่น เช่น อถวา ปน เป็นต้น)
เรียกว่า นิปาตสมุห

ชื่อสัมพันธ์พิเศษ
         
๑. ปุนปฺปุนํ บ่อยๆ เรียกว่า ปุนปฺปุนตฺถ
๒. กึการณา เพราะเหตุอะไร " เหตุ
๓. เอวํ อย่างนี้ " กิริยาวิเสสน
๔. ยาว ก็ดี อญฺตร ก็ดี (อยู่ตัวเดียว) " กิริยาวิเสสน
๕. ยทิทํ ก็ดีเสยฺยถีทํ ก็ดี " ทสฺสนนิบาต
๖. ยญฺเจ เสยฺโย(แปลรวมกัน) " กิริยาวิเสสน
๗. ยํ ใด(ที่ไม่ใช่วิเสสนะ อยู่และแปลตัวเดียว) " กิริยาปรามาส
๘. ยสฺมา เหตุใด (ที่ไม่ใช่วิเสสนะ) " กิริยาปรามาส
๙. หิ เหตุใด " กิริยาปรามาส
๑๐. ตุ ปัจจัย เพื่ออัน " ตุมตฺถสมฺปทาน
๑๑. นาม ชื่อว่า " สญฺาโชตก
๑๒. ชื่อว่า (ไม่มี นาม ศัพท์ เช่น ติสฺโส ชื่อว่า ติสฺสะ) " สญฺาวิเสสน
๑๓. ชื่อว่า (บทอธิบายอยู่หน้าตัวมีในคาถา " สญฺา (สญฺี)
๑๔. คือว่า (บทอธิบายอยู่หลังตัวมีในคาถา " วิวริย (วิวรณ)
๑๕. มญฺเ เห็นจะ " สํสยตฺถ
๑๖. สาธุ ดังข้าพเจ้าของโอกาส " อายาจนตฺถ
๑๗. เตนหิ ถ้าอย่างนั้น " วิภตฺติปฏิรูปก
๑๘. ว่าเป็น (เช่น พฺราหฺมณํ ว่าเป็นพราหมณ์) " สมฺภาวน
๑๙. คือ (นามที่มีวิภัตติและวจนะเสมอกัน) " วิเสสลาภี
๒๐. คือ (นามที่มีวิภัตติเสมอ แต่วจนะไม่เสมอกัน) " สรูป
๒๑. วิเสสนต่างลิงค์ " วิเสสนลิงฺควิปลฺลาส
๒๒. วิเสสนะต่างวจนะ " วิเสสนวจนวิปลฺลาส
๒๓. วิเสสนะต่างทั้งลิงค์และวจนะ " วิเสสนลิงฺควจนวิปลฺลาส
๒๔. อิติ าปนเหตุกํ มีอันให้รู้ว่า...ดังนี้เป็นเหตุฯ
อิติ ศัพท์ เรียกว่า สรูป ใน าปน-
าปนเหตุกํ เรียกว่า กิริยาวิเสสน (ในกิริยาหลัง)
๒๕. สัมพันธ์ผสม วิภัตติใด แปลด้วยสำเนียงอายตนิบาตของวิภัตติหมวดอื่น
เมื่อเวลาสัมพันธ์ให้บอกชื่อหมวดวิภัตติไว้ข้างหน้า แล้วต่อด้วยสำเนียง
วิภัตติที่แปลไว้ข้างหลัง เช่น สุนเขหิ เถรํ ขาทาเปสฺสามิ (อ.เรา ยังสุนัข ท.
จักให้เคี้ยวกิน ซึ่งพระเถระ) สุนเขหิ ประกอบด้วย ตติยาวิภัตติ แต่แปลออก
สำเนียงอายตนิบาตเป็นทุติยาวิภัตติ) เรียกชื่อสัมพันธ์ว่า ตติยาการิตกมฺม เป็นต้น
จบหลักสัมพันธ์ สำหรับท่องจำเพียงเท่านี้





หลักการสัมพันธ์ไทย
หมวดชื่อสัมพันธ์
๑. ปฐมาวิภัตติ
๒. ทุติยาวิภัตติ
๓. ตติยาวิภัตติ
๔. จตุตถีวิภัตติ
๕. ปัญจมีวิภัตติ
๖. ฉัฏฐีวิภัตติ
๗. สัตตมีวิภัตติ
๘. นาม,คุณนาม,สัพพนาม
๙. กิริยาคุมพากย์
๑๐. กิริยาในระหว่าง
๑๑. อิติ ศัพท์
๑๒. นิบาตต่างๆ
๑๓. ประธานพิเศษ
๑๔. ชื่อสัมพันธ์พิเศษ
หมวดวิธีสัมพันธ์
๑. ความรู้พื้นฐาน
๒. คำเชื่อมชื่อสัมพันธ์
๓. คำเชื่อมพิเศษ
๔. เทคนิคการเขียน
๕. การเดินสัมพันธ์
หมวด ประโยคพิเศษ
๑. ประโยคกิริยาปธานนัย
๒. ตุ ปัจจัย เป็นประธาน
๓. ตพฺพ ปัจจัย เป็นประธาน
๔. สัตตมีวิภัตติ เป็นประธาน
๕. เอวํ เป็นประธาน
๖. อลํ เป็นประธาน
๗. ตถา เป็นประธาน
๘. สาธุ เป็นประธาน
๙. ประโยค กิมงฺคํ ปน
๑๐. ประโยค อาณาเปสิ
หมวดเบ็ดเตล็ด
๑. วากฺยารมฺภ, วากฺยารมฺภโชตก
๒. วิกติกตฺตา
๓. วิกติกมฺม
๔. กิริยาวิเสสนนาม
๕. สมฺภาวน
๖. อิตฺถมฺภูต
๗. สห, สทฺธึ ศัพท์
๘. ภาวาทิสมฺพนฺธ
๙. ฉฏีกมฺม
๑๐. ฉฏีกรณ
๑๑. เหตุ
๑๒. นิทฺธารณ-นิทฺธารณีย
๑๓. ประโยค อนาทร
๑๔. ประโยค ลกฺขณ
๑๕. อาธาร, ภินฺนาธาร
๑๖. กาลสตฺตมี
๑๗. นิมิตฺตสตฺตมี
๑๘. สกฺกา, อลํ
๑๙. กิริยาปรามาส
๒๐. สญฺาวิเสสน
๒๑. สญฺาโชตก
๒๒. ปริกปฺปตฺถ
๒๓. อนุคฺคหตฺถ, อรุจิสูจนตฺถ
๒๔. อุปมาโชตก, อุปเมยฺยโชตก
       ตปฺปาฏิกรณโชตก
๒๕. จ ศัพท์ ควบ
๒๖. วา ศัพท์ ควบ
๒๗. อุยฺโยชนตฺถ
๒๘. อจฺฉริยตฺถ, สํเวคตฺถ
๒๙. วจนาลงฺการ, ปทปูรณ
๓๐. กิริยาวิเสสนนิบาต
๓๑. วิเสสนวิปลฺลาส
๓๒. วิเสสลาภี
๓๓. สรูป
๓๔. มญฺเ ศัพท์
๓๕. อายาจนตฺถ
๓๖. นิปาตสมุห
๓๗. สัมพันธ์เข้าครึ่งศัพท์
๓๘. ปฏิเสธนตฺถ, ปฏิเสธ
๓๙. สัมพันธ์หักวิภัตติ
หมวดกิริยาในระหว่าง
๑. อนฺต, มาน ปัจจัย
๒. ตูนาทิปัจจัย
๒.๑ ปุพฺพกาลกิริยา
๒.๒ สมานกาลกิริยา
๒.๓ อปรกาลกิริยา
๒.๔ เหตุกาลกิริยา
๒.๕ ปริโยสานกาลกิริยา
๒.๖ วิเสสน
๒.๗ กิริยาวิเสสน
หมวด อิติ ศัพท์
๑. นิทสฺสน
๒. เหตฺวตฺถ
๓. ปการตฺถ
๔. สมาปนฺน, ปริสมาปนฺน
๕. อาทยตฺถ
๖. สญฺาโชตก
๗. อาการ
๘. สรูป
๙. แปลว่า คือ
หมวดคาถาและแก้อรรถ
การสัมพันธ์คาถา
๑. ปัฐยาวัตร
๒. อินทรวิเชียร
๓. อุเปนทรวิเชียร
๔. อินทรวงศ์
๕. วังสัฏฐะ
๖. วสันตดิลก
การสัมพันธ์แก้อรรถ
๑. อิติ ศัพท์
๒. วิวริย, วิวรณ
๓. สญฺี, สญฺา
๔. ประโยค ตสฺสตฺโถ
๕. ประโยค อิทํ วุตฺตํ โหติ
๖. ประโยค วินิจฉัย
๗. ประโยค วิเคราะห์
๘. ประโยค อธิบาย


โปรดเลือกรายการ