ปัญหาและเฉลย
วิชาอนุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๒๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๐
เวลา ๑๔.๐๐ - ๑๔.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ประวัติของผู้บวชตาม ปฏิบัติตาม รู้ตาม หมายถึงข้อใด ?
ก.
พุทธประวัติ
ข.
อนุพุทธประวัติ
ค.
พุทธานุพุทธประวัติ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒.
พระธรรมเทศนาใด โกณฑัญญะฟังแล้วได้ดวงตาเห็นธรรม ?
ก.
อนุปุพพีกถา
ข.
ธัมมจักกัปวัตตนสูตร
ค.
อนัตตลักขณสูตร
ง.
อาทิตตปริยายสูตร
๓.
พระมหาบุรุษทรงเลิกบำเพ็ญทุกรกิริยา เพราะเหตุใด ?
ก.
ปัญจวัคคีย์ขอให้เลิก
ข.
ปัญจวัคคีย์หนีไป
ค.
รู้ว่าไม่ใช่ทางตรัสรู้
ง.
บรรลุธรรมแล้ว
๔.
ปัญจวัคคีย์ อยู่เฝ้าอุปัฏฐากพระมหาบุรุษกี่ปี ?
ก.
๒ ปี
ข.
๓ ปี
ค.
๕ ปี
ง.
๖ ปี
๕.
ใครออกบวชพร้อมกับโกณฑัญญะ ?
ก.
กิมพิละ
ข.
ภคุ
ค.
อัสสชิ
ง.
ควัมปติ
๖.
ข้อใด ไม่ได้เกิดขึ้นที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ?
ก.
ปฐมพรรษา
ข.
ปฐมเทศนา
ค.
ปฐมสาวิกา
ง.
ปฐมสาวก
๗.
พระสงฆ์เกิดขึ้นในโลกครั้งแรก ตรงกับวันอะไร ?
ก.
วันมาฆบูชา
ข.
วันวิสาขบูชา
ค.
วันอัฏฐมีบูชา
ง.
วันอาสาฬหบูชา
๘.
พระยสะ ออกบวชเพราะเหตุใด ?
ก.
เกิดศรัทธา
ข.
ถูกบังคับ
ค.
เพื่อนชวน
ง.
เกิดความเบื่อหน่าย
๙.
ที่นี่ไม่วุ่นวาย ที่นี่ไม่ขัดข้อง... เป็นคำพูดของใคร ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระยสะ
ค.
พระสารีบุตร
ง.
พระอานนท์
๑๐.
ข้อใด กล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับพระยสะ ?
ก.
สหาย ๕๔ บวชตาม
ข.
ขอบวชต่อบิดามารดา
ค.
บิดาเป็นอุบาสกคนแรก
ง.
ได้ฟังอนุปุพพีกถา
๑๑.
พระอุรุเวลกัสสปะ เป็นชาวเมืองไหน ?
ก.
ราชคฤห์
ข.
สาวัตถี
ค.
นาลันทา
ง.
คยาสีสะ
๑๒.
พระอุรุเวลกัสสปะขอบวชในพระพุทธศาสนา เพราะเหตุใด ?
ก.
ได้เห็นอภินิหาร
ข.
ถูกทรมานด้วยฤทธิ์
ค.
ถูกขอร้องให้บวช
ง.
ลัทธิตนไม่มีแก่นสาร
๑๓.
ข้อใด ไม่ใช่คุณสมบัติพื้นฐานของชฎิล ๓ พี่น้อง ?
ก.
มีชีวิตคู่มาก่อน
ข.
เป็นนักบวชชฎิลมาก่อน
ค.
จบไตรเพทมาก่อน
ง.
เป็นหัวหน้าชฎิลมาก่อน
๑๔.
ภาวะโลกร้อนกำลังเป็นปัญหาอย่างหนัก ส่วนสภาวธรรมที่เป็น
ของร้อน ปรากฏในพระสูตรไหน ?
ก.
เวทนาปริคคหสูตร
ข.
อาทิตตปริยายสูตร
ค.
อนัตตลักขณสูตร
ง.
ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร
๑๕.
ใครเป็นทั้งมิตรแท้ เป็นทั้งอาจารย์ของโกลิตะ ?
ก.
พระอัสสชิ
ข.
อุปติสสะ
ค.
พาวรี
ง.
สัญชัย
๑๖.
สิ่งทั้งปวงไม่ควรแก่ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าไม่ชอบใจหมด ใครพูด ?
ก.
อุปติสสปริพาชก
ข.
โกลิตปริพาชก
ค.
สุภัททปริพาชก
ง.
ทีฆนขปริพาชก
๑๗.
อุปติสสะกับพระสารีบุตร เกี่ยวข้องกันอย่างไร ?
ก.
อุปติสสะเป็นพี่
ข.
พระสารีบุตรเป็นพี่
ค.
เป็นคนเดียวกัน
ง.
เป็นเพื่อนกัน
๑๘.
หลังจากบวชได้ ๗ วัน เกิดอะไรขึ้นแก่พระโมคคัลลานะ ?
ก.
คิดถึงบ้านเกิด
ข.
ใจท้อแท้หดหู่
ค.
เกิดความเบื่อหน่าย
ง.
อ่อนใจโงกง่วง
๑๙.
ผู้ได้รับยกย่องว่าเป็นพระธรรมราชา คือใคร ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระสารีบุตร
ค.
พระอานนท์
ง.
พระมหากัสสปะ
๒๐.
พระสาวกรูปใด ชอบอยู่ป่าปฏิบัติกัมมัฏฐาน ?
ก.
พระอุรุเวลกัสสปะ
ข.
พระโมคคัลลานะ
ค.
พระมหากัสสปะ
ง.
พระกุมารกัสสปะ
๒๑.
พระมหาเถระผู้คิดริเริ่มในการทำสังคายนาครั้งแรก คือใคร ?
ก.
พระอุรุเวลกัสสปะ
ข.
พระมหากัสสปะ
ค.
พระอานนท์
ง.
พระอุบาลี
๒๒.
พระสาวกรูปใด ไม่ได้ออกบวชพร้อมกับพระอานนท์ ?
ก.
พระอนุรุทธะ
ข.
พระภัททิยะ
ค.
พระอุบาลี
ง.
พระสารีบุตร
๒๓.
พระมหากัจจายนะ ก่อนบวชมีตำแหน่งอะไร ?
ก.
ปุโรหิต
ข.
ทหารองครักษ์
ค.
อำมาตย์
ง.
เจ้าลัทธิ
๒๔.
พระสาวกรูปใด สามารถยังสกุลที่ไม่เลื่อมใสให้เลื่อมใสได้ ?
ก.
พระโมคคัลลานะ
ข.
พระสารีบุตร
ค.
พระอุบาลี
ง.
พระกาฬุทายี
๒๕.
พระพุทธเจ้า ทรงรับประกันเพื่อให้ได้นางอัปสรแก่ใคร ?
ก.
พระภัททิยะ
ข.
พระนันทะ
ค.
พระอานนท์
ง.
พระเทวทัต
๒๖.
พระสาวกรูปใด ตอนเกิดบิดาพูดว่า บ่วงเกิดแล้ว ?
ก.
พระอานนท์
ข.
พระอุบาลี
ค.
พระราหุล
ง.
พระอัสสชิ
๒๗.
พระสาวกรูปใด เคยปรารถนาว่า ขออย่าได้ยินคำว่าไม่มี ?
ก.
พระภัททิยะ
ข.
พระมหานามะ
ค.
พระอนุรุทธะ
ง.
พระกิมพิละ
๒๘.
พระสาวกรูปใด บรรลุพระอรหันต์ขณะปลงผมเสร็จ ?
ก.
พระสีวลี
ข.
พระเรวตะ
ค.
พระสุภูติ
ง.
พระวังคีสะ
๒๙.
พระสาวกรูปใด มารดาบิดาจำใจยอมให้บวช ?
ก.
พระราธะ
ข.
พระอนุรุทธะ
ค.
พระรัฐบาล
ง.
พระสาคตะ
๓๐.
พระสาวกรูปใด ถูกพระศาสดาทรงตำหนิว่า โมฆบุรุษผู้มักมาก ?
ก.
พระสุภูติ
ข.
พระจุนทะ
ค.
พระเรวตะ
ง.
พระอุปเสนะ
๓๑.
มีปัญญา แม้ไม่มีทรัพย์ ยังพออยู่ได้ แต่ขาดปัญญา แม้มีทรัพย์
ก็อยู่ไม่ได้ ... เป็นธรรมวาทะของใคร ?
ก.
พระโสภิตะ
ข.
พระสาคตะ
ค.
พระมหากัปปินะ
ง.
พระพากุละ
๓๒.
พระสาวกรูปใด ขณะเป็นพระราชา มีม้าไว้สืบข่าวการอุบัติขึ้น
ของพระพุทธเจ้า ?
ก.
พระมหากัปปินะ
ข.
พระรัฐบาล
ค.
พระภัททิยะ
ง.
พระโสณกุฏิกัณณะ
๓๓.
พระสาวกรูปใด ก่อนบวชมักพูดหักล้างคนอื่น จนใคร ๆ ไม่อยาก
คบหาสมาคมด้วย ?
ก.
พระโสณกุฏิกัณณะ
ข.
พระกุมารกัสสปะ
ค.
พระปุณณชิ
ง.
พระมหาโกฏฐิตะ
๓๔.
ใครทำหน้าที่วินิจฉัยอธิกรณ์ กรณีมารดาของกุมารกัสสปะ ?
ก.
พระมหากัสสปะ
ข.
พระอานนท์
ค.
พระสารีบุตร
ง.
พระอุบาลี
๓๕.
พระสาวกรูปใด ก่อนบวชถูกล้อเลียนว่า เด็กไม่มีแม่ ?
ก.
พระรัฐบาล
ข.
พระราธะ
ค.
พระกุมารกัสสปะ
ง.
พระโกณฑธาน
๓๖.
พระสาวกรูปใด ก่อนบวชมีความเชี่ยวชาญด้านดนตรี ?
ก.
พระโสณโกฬิวิสะ
ข.
พระปิลินทวัจฉะ
ค.
พระปุณณชิ
ง.
พระมหาโกฏฐิตะ
๓๗.
พระสาวกรูปใด ชำนาญในมนต์เคาะกะโหลกศีรษะมนุษย์ ?
ก.
พระพาหิยะ
ข.
พระสุภูติ
ค.
พระสาคตะ
ง.
พระวังคีสะ
๓๘.
พระสาวกรูปใด เป็นต้นบัญญัติในการห้ามดื่มสุรา ?
ก.
พระสาคตะ
ข.
พระพากุละ
ค.
พระสุภูติ
ง.
พระโสภิตะ
๓๙.
พระสาวกรูปใด ได้ชื่อว่าปัจฉิมภวิกสัตว์ ผู้เกิดเป็นภพสุดท้าย ?
ก.
พระสิวลี
ข.
พระพากุละ
ค.
พระสุภูติ
ง.
พระราธะ
๔๐.
พระพากุละไม่มีโรคภัยเบียดเบียน เพราะสาเหตุใด ?
ก.
สร้างเจดีย์ถวาย
ข.
สร้างห้องสุขาถวาย
ค.
ถวายยาเป็นทาน
ง.
ข้อ ข. และ ค. ถูก
ศาสนพิธี
๔๑.
ระเบียบแบบแผนที่ผู้นับถือศาสนาพึงปฏิบัติ เรียกว่าอะไร ?
ก.
ศาสนพิธี
ข.
บุญพิธี
ค.
ทานพิธี
ง.
กุศลพิธี
๔๒.
ข้อใด จัดเป็นงานอวมงคล ?
ก.
ทำบุญขึ้นบ้านใหม่
ข.
ทำบุญอุทิศผู้ตาย
ค.
ทำบุญทอดกฐิน
ง.
ทำบุญฉลองเมรุ
๔๓.
วันพระ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าวันอะไร ?
ก.
วันอุโบสถ
ข.
วันวัสสูปนายิกา
ค.
วันธรรมสวนะ
ง.
วันปาฏิบท
๔๔.
ผ้าที่โยงจากศพ เพื่อทำพิธีทอดผ้าบังสุกุล เรียกว่าอะไร ?
ก.
ผ้าภูษามาลา
ข.
ผ้าภูษาโยง
ค.
ผ้าบังสุกุล
ง.
ผ้าปูลาด
๔๕.
วันเข้าพรรษา ตรงกับข้อใด ?
ก.
ขึ้น ๑ ค่ำ เดือน ๘
ข.
ขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๘
ค.
แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘
ง.
แรม ๑๕ ค่ำ เดือน ๙
๔๖.
วันมหาปวารณา ตรงกับข้อใด ?
ก.
วันแสดงธรรม
ข.
วันอุโบสถ
ค.
วันเข้าพรรษา
ง.
วันออกพรรษา
๔๗.
ข้อใด ไม่ใช่อยู่ในบทพุทธานุสสติ ?
ก.
สมฺมาสมฺพุทฺโธ
ข.
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
ค.
สตฺถา เทวมนุสฺสานํ
ง.
สนฺทิฏฺฐิโก อกาลิโก
๔๘.
การถวายผ้าอาบน้ำฝน นิยมถวายในวันใด ?
ก.
วันมาฆบูชา
ข.
วันวิสาขบูชา
ค.
วันอัฏฐมีบูชา
ง.
วันอาสาฬหบูชา
๔๙.
อุโบสถศีลข้อสุดท้าย ว่าด้วยการเว้นเรื่องใด ?
ก.
บริโภคในเวลาวิกาล
ข.
ฟ้อนรำขับร้อง
ค.
ทัดทรงดอกไม้
ง.
ที่นั่งที่นอนสูงใหญ่
๕๐.
การทอดกฐิน สิ้นสุดในวันใด ?
ก.
วันลอยกระทง
ข.
วันสงกรานต์
ค.
วันเข้าพรรษา
ง.
วันออกพรรษา
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๐. หน้า ๑๙๐-๑๙๙.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐