ปัญหาและเฉลย
วิชาอนุพุทธประวัติ ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันอังคาร ที่ ๒๖ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๕๖
เวลา ๑๔.๐๐ - ๑๔.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว ในช่องที่ต้องการ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ผู้ตรัสรู้ตามพระพุทธเจ้า ตรงกับข้อใด ?
ก.
พระปัจเจกพุทธเจ้า
ข.
พระโสดาบัน
ค.
พระอนุพุทธะ
ง.
พระอนาคามี
๒.
ผู้แรกเข้าถึงกระแสพระนิพพาน เป็นความหมายของข้อใด ?
ก.
พระโสดาบัน
ข.
พระสกทาคามี
ค.
พระอนาคามี
ง.
พระอรหันต์
๓.
ผู้ได้รับยกย่องว่าเลิศในทางนั้น ๆ เรียกว่าอะไร ?
ก.
อริยบุคคล
ข.
สาวก
ค.
เอตทัคคะ
ง.
พหูสูต
๔.
อญฺาสิ ในคำว่า อญฺาสิ วต โภ โกณฑญฺโ หมายความว่าอย่างไร ?
ก.
ได้บรรลุแล้ว
ข.
ได้รู้แล้ว
ค.
ได้เห็นแล้ว
ง.
ได้ปลงแล้ว
๕.
พระอัญญาโกณฑัญญะ ได้รับยกย่องเป็นรัตตัญญู เพราะเหตุใด ?
ก.
รู้ธรรมก่อนใคร
ข.
บวชก่อนใคร
ค.
มีประสบการณ์มาก
ง.
มีความรู้มาก
๖.
ข้อใด มิใช่หัวข้อธรรมในอนุปุพพีกถา ?
ก.
ทาน
ข.
ศีล
ค.
ภาวนา
ง.
เนกขัมมะ
๗.
พระสาวกที่ได้รับยกย่องว่ามีบริวารมาก ชื่อว่าอะไร ?
ก.
อุรุเวลกัสสปะ
ข.
นทีกัสสปะ
ค.
คยากัสสปะ
ง.
มหากัสสปะ
๘.
พระพุทธเจ้าทรงแสดงอาทิตตปริยายสูตร ณ ที่ใด ?
ก.
อุรุเวลาเสนานิคม
ข.
คยาสีสะ
ค.
เชตวัน
ง.
เวฬุวัน
๙.
ใครเป็นกำลังสำคัญในการประกาศพระศาสนาที่แคว้นมคธ ?
ก.
พระอัสสชิ
ข.
พระมหากัสสปะ
ค.
พระสารีบุตร
ง.
พระอุรุเวลกัสสปะ
๑๐.
ผู้มีอายุ ท่านมีอินทรีย์ผ่องใส บวชจำเพาะใคร เป็นคำพูดของใคร ?
ก.
อชิตมาณพ
ข.
ปุณณกมาณพ
ค.
อุปติสสมาณพ
ง.
โกลิตมาณพ
๑๑.
อุปติสสมาณพได้ดวงตาเห็นธรรม เพราะฟังธรรมจากใคร ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระมหานามะ
ค.
พระอัสสชิ
ง.
พระยส
๑๒.
บ้านกัลลวาลมุตตคาม เป็นที่สำเร็จพระอรหันต์ของพระสาวกรูปใด ?
ก.
พระสารีบุตร
ข.
พระโมคคัลลานะ
ค.
พระมหากัสสปะ
ง.
พระยส
๑๓.
ข้อใด ไม่ใช่ธุดงควัตรของพระมหากัสสปะ ?
ก.
ถือผ้าบังสุกุล
ข.
เที่ยวบิณฑบาต
ค.
อยู่ป่า
ง.
อยู่ป่าช้า
๑๔.
วรรณะทั้ง ๔ ย่อมเสมอกันด้วยกรรมคือการกระทำ ใครกล่าว ?
ก.
พระมหากัสสปะ
ข.
พระมหากัจจายนะ
ค.
พระอานนท์
ง.
พระอนุรุทธะ
๑๕.
พระสาวกรูปใด บรรลุพระอรหัตก่อนบวช ?
ก.
พระอนุรุทธะ
ข.
พระมหากัสสปะ
ค.
พระมหากัจจายนะ
ง.
พระอานนท์
๑๖.
พิจารณาเห็นโลกอย่างไร มัจจุราชจึงจะไม่แลเห็น ใครทูลถาม ?
ก.
ก.อชิตมาณพ
ข.
โมฆราชมาณพ
ค.
ปิงคิยมาณพ
ง.
โธตกมาณพ
๑๗.
พระสาวกรูปใด ทำให้พระสารีบุตรได้ชื่อว่า เป็นผู้มีความกตัญญู ?
ก.
พระราธะ
ข.
พระราหุล
ค.
พระรัฐบาล
ง.
พระจุนทะ
๑๘.
เพราะเหตุใด คนทั้งหลายจึงเรียกพระอุทายีว่า กาฬุทายี ?
ก.
เป็นโรค
ข.
มีผิวดำ
ค.
เรียกตามบิดา
ง.
เรียกตามโคตร
๑๙.
พระสาวกรูปใด บวชเพราะเคารพและเกรงใจพระพุทธเจ้า ?
ก.
พระอนุรุทธะ
ข.
พระอานนท์
ค.
พระนันทะ
ง.
พระวักกลิ
๒๐.
พระพุทธเจ้าแสดงโทษการพูดมุสาแก่ใคร ?
ก.
พระนันทะ
ข.
พระราหุล
ค.
พระอานนท์
ง.
พระอุบาลี
๒๑.
ราหุล เป็นพระนามที่ตั้งตามหลักใด ?
ก.
มงคลนาม
ข.
พิธีขนานนาม
ค.
ฤษีตั้งให้
ง.
คำอุทานของบิดา
๒๒.
พระภัททิยะ มักจะเปล่งอุทานอยู่เสมอว่าอะไร ?
ก.
ทุกข์หนอ ๆ
ข.
ดีหนอ ๆ
ค.
สุขหนอ ๆ
ง.
วุ่นวายหนอ ๆ
๒๓.
พระสาวกรูปใด รับปากพี่ชายว่าจะบวชเป็นตัวแทนตระกูล ?
ก.
พระอานนท์
ข.
พระภัททิยะ
ค.
พระอนุรุทธะ
ง.
พระมหานามะ
๒๔.
ข้อใด มิใช่เอตทัคคะของพระอานนท์ ?
ก.
แสดงธรรมไพเราะ
ข.
มีสติ
ค.
พหูสูต
ง.
มีความเพียร
๒๕.
พระสาวกรูปใด บรรลุพระอรหัตช้าเพราะมีกิจมาก ?
ก.
พระสารีบุตร
ข.
พระอานนท์
ค.
พระโมคคัลลานะ
ง.
พระอนุรุทธะ
๒๖.
พระสาวกรูปใด บำเพ็ญเพียรอย่างหนัก เดินจงกรมจนเท้าแตก ?
ก.
พระรัฐบาล
ข.
พระโสณโกฬิวิสะ
ค.
พระวักกลิ
ง.
พระมหาปันถก
๒๗.
พระรัฐบาลทำอย่างไร มาดารบิดาจึงอนุญาตให้บวช ?
ก.
อดอาหาร
ข.
ให้เพื่อนมาขอ
ค.
ไม่ลุกจากที่นอน
ง.
เที่ยวเตร่ทุกวัน
๒๘.
พระปิณโฑลภารทวาชะ ได้รับยกย่องว่าเป็นเอตทัคคะด้านใด ?
ก.
เป็นธรรมกถึก
ข.
บันลือสีหนาท
ค.
มีเสียงไพเราะ
ง.
สอนภิกษุณี
๒๙.
พระบรมศาสดาทรงแต่งตั้งใคร ให้ทำหน้าที่จัดพระไปกิจนิมนต์ ?
ก.
พระมหาปันถก
ข.
พระอนุรุทธะ
ค.
พระจุนทะ
ง.
พระอานนท์
๓๐.
อะไรเป็นเหตุให้พระโสณกุฏิกัณณะ เป็นสามเณรถึง ๓ ปี ?
ก.
อายุยังไม่ครบ
ข.
มีภิกษุไม่ครบ
ค.
ไม่มีผู้อนุญาต
ง.
ไม่มีอุปัชฌาย์
๓๑.
พระสาวกรูปใด มีรูปสตรีตามหลังเพราะบาปกรรมในชาติก่อน ?
ก.
พระโกณฑธาน
ข.
พระปิลินทวัจฉะ
ค.
พระพากุละ
ง.
พระสุภูติ
๓๒.
พระสาวกรูปใด มีอายุยืนเพราะอานิสงส์ถวายยาและเวจกุฎี ?
ก.
พระสารีบุตร
ข.
พระมหากัสสปะ
ค.
พระพากุละ
ง.
พระวักกลิ
๓๓.
พระวักกลิออกบวชเพราะมีอัธยาศัยอย่างไร ในพระพุทธเจ้า ?
ก.
หลงรูป
ข.
หลงเสียง
ค.
หลงธรรม
ง.
หลงคารม
๓๔.
พระสาวกรูปใด พูดจาไม่ไพเราะ แต่มีวาจาศักดิ์สิทธิ์ ?
ก.
พระปิลินทวัจฉะ
ข.
พระมหากัสสปะ
ค.
พระมหาปันถก
ง.
พระราธะ
๓๕.
ข้อใด ไม่เกี่ยวข้องกับพระกุมารกัสสปะ ?
ก.
บวชแต่เด็ก
ข.
พระราชาชุบเลี้ยง
ค.
แม่เป็นภิกษุณี
ง.
เป็นธรรมกถึก
๓๖.
ใครตัดสินอธิกรณ์ เรื่องภิกษุณีมารดาของพระกุมารกัสสปะ ?
ก.
พระมหากัสสปะ
ข.
พระสารีบุตร
ค.
พระอุบาลี
ง.
พระอานนท์
๓๗.
พระสาวกรูปใด ชำนาญในการระลึกรู้อดีตชาติ ?
ก.
พระพากุละ
ข.
พระโสภิตะ
ค.
พระรัฐบาล
ง.
พระโมคคัลลานะ
๓๘.
พระมหากัปปินะ ก่อนบวชมีฐานะเป็นอะไร ?
ก.
ปุโรหิต
ข.
อำมาตย์
ค.
พ่อค้า
ง.
กษัตริย์
๓๙.
พระสาวกรูปใด อยู่ในครรภ์มารดาถึง ๗ ปี ๗ เดือน ๗ วัน ?
ก.
พระราหุล
ข.
พระสีวลี
ค.
พระพากุละ
ง.
พระกังขาเรวตะ
๔๐.
ใครบรรลุพระอรหัต แต่ยังไม่ทันบวชก็นิพพาน ?
ก.
พระมหากัจจายนะ
ข.
พระกังขาเรวตะ
ค.
พระพาหิยะ
ง.
พระสีวลี
ศาสนพิธี
๔๑.
แรม ๑ ค่ำ เดือน ๘ กำหนดให้เป็นวันอะไร ?
ก.
วันเข้าพรรษา
ข.
วันออกพรรษา
ค.
วันธรรมสวนะ
ง.
วันเทโวโรหณะ
๔๒.
ข้อใด เป็นอานุภาพของพระปริตร ?
ก.
ร่ำรวยเงินทอง
ข.
อายุยืน
ค.
ขจัดทุกข์ภัยโรค
ง.
เจริญด้วยยศศักดิ์
๔๓.
ทักษิณานุประทาน มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
ทำบุญวันเกิด
ข.
ทำบุญอายุ
ค.
ทำบุญขึ้นบ้านใหม่
ง.
ทำบุญให้ผู้ตาย
๔๔.
การทำบุญสตมวาร หมายถึงการทำบุญครบวันตายกี่วัน ?
ก.
๗ วัน
ข.
๕๐ วัน
ค.
๑๐๐ วัน
ง.
๓๖๕ วัน
๔๕.
สวดมาติกาบังสุกุลในงานพระราชพิธี เรียกว่าอย่างไร ?
ก.
สวดแจง
ข.
สดับปกรณ์
ค.
สวดมาติกา
ง.
สวดพระอภิธรรม
๔๖.
เทศน์มหาชาติ เป็นการเทศน์ชาดกใด ?
ก.
ก.มโหสถ
ข.
สุวรรณสาม
ค.
มหาเวสสันดร
ง.
มหาชนก
๔๗.
การฟังเทศน์ จัดเป็นการบำเพ็ญกุศลอย่างหนึ่ง เรียกว่าอะไร ?
ก.
ทานมัย
ข.
สีลมัย
ค.
ธัมมัสสวนมัย
ง.
ธัมมเทสนามัย
๔๘.
ผ้าป่าในสมัยพุทธกาล คือผ้าชนิดใด ?
ก.
ผ้าวัสสิกสาฎก
ข.
ผ้าอาบนํ้าฝน
ค.
ผ้าบังสุกุลจีวร
ง.
ผ้าอัจเจกจีวร
๔๙.
การทอดกฐิน หมดเขตกลางเดือนใด ?
ก.
เดือน ๑๑
ข.
เดือน ๑๒
ค.
เดือนอ้าย
ง.
เดือนยี่
๕๐.
เวจกุฎี หมายถึงสถานที่ใด ?
ก.
ห้องนอน
ข.
ห้องรับแขก
ค.
ห้องพยาบาล
ง.
ห้องสุขา
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๖. หน้า ๒๒๓-๒๓๓.
ข้อสอบจริง สอบวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๔.๐๐ - ๑๔.๕๐ น.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐