ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันอาทิตย์ ที่ ๓๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๖
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาท (X)ลงในช่อง
ของข้อที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
จงอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วตอบปัญหาตั้งแต่ข้อ ๑ ถึงข้อ ๓
“
สูทั้งหลายจงมาดูโลกนี้ อันตระการดุจราชรถ
ที่พวกคนเขลาหมกอยู่ แต่ผู้รู้หาข้องอยู่ไม่
”
๑.
ข้อความนี้ ใครกล่าว ?
ก.
พระเจ้าพิมพิสาร
ข.
พระเจ้าอุเทน
ค.
พระเจ้าอโศก
ง.
พระพุทธเจ้า
๒.
คำว่า
“ โลก ”
หมายถึงข้อใด ?
ก.
แผ่นดินที่หมู่สัตว์อาศัย
ข.
หมู่สัตว์ผู้อาศัยแผ่นดิน
ค.
โลกที่พระเจ้าสร้างขึ้น
ง.
ข้อ ก. ข้อ ข. ถูก
๓.
คำว่า
“ หมกอยู่ ”
หมายถึงหมกอยู่ในอะไร ?
ก.
โลก
ข.
แผ่นดิน
ค.
กิเลสกาม
ง.
วัตถุกาม
๔.
ที่ได้ชื่อว่า บ่วงแห่งมาร เพราะเหตุใด ?
ก.
เพราะเป็นประโยชน์
ข.
เพราะเป็นสิ่งหาได้ยาก
ค.
เพราะทำให้มนุษย์พอใจ
ง.
เพราะทุกคนต้องมี
๕.
กิเลสกาม คือเจตสิกอันเศร้าหมอง จัดเป็นอะไร ?
ก.
บ่วงแห่งมาร
ข.
มาร
ค.
เสนามาร
ง.
มัจจุมาร
๖.
คำว่า
“ นิพพิทา ”
หมายถึงข้อใด ?
ก.
เบื่อหน่ายสังขาร
ข.
เบื่อหน่ายการงาน
ค.
เบื่อหน่ายการเรียน
ง.
เบื่อหน่ายสังคม
๗.
ญาณหยั่งเห็นว่าสังขารทั้งปวงไม่เที่ยง จัดเป็น…… ?
ก.
สมถะ
ข.
วิปัสสนา
ค.
วิมุตติ
ง.
สันติ
๘.
อนิจจตานั้น คือข้อใด ?
ก.
สภาพที่ไม่มีเจ้าของ
ข.
สภาพที่ไม่อยู่ในอำนาจ
ค.
สภาพที่ทนอยู่ไม่ได้
ง.
สภาพที่เกิดขึ้นแล้วดับไป
๙.
เพราะโกงเขา จึงต้องมานั่งเศร้าในตะราง เป็นลักษณะของ…… ?
ก.
สหคตทุกข์
ข.
วิวาทมูลกทุกข์
ค.
สันตาปทุกข์
ง.
วิปากทุกข์
๑๐.
ข้อใด ไม่ใช่สภาวทุกข์ ?
ก.
ชาติคือความเกิด
ข.
ชราคือความแก่
ค.
พยาธิคือความเจ็บป่วย
ง.
มรณะคือความตาย
๑๑.
ความหิว ร้อน หนาว เป็นต้น จัดเป็นทุกข์อะไร ?
ก.
สภาวทุกข์
ข.
ปกิณกทุกข์
ค.
นิพัทธทุกข์
ง.
พยาธิทุกข์
๑๒.
ข้อใด เป็นสันตาปทุกข์ ?
ก.
ทุกข์เพราะแดดเผา
ข.
ทุกข์เพราะไฟเผา
ค.
ทุกข์เพราะกิเลสเผา
ง.
ทุกข์เพราะความหิวเผา
๑๓.
ทุกสิ่งมีสภาพ “ สูญ ” หมายถึงข้อใด ?
ก.
ไม่มีอัตตา
ข.
มีความล้มเหลว
ค.
ค้นหาไม่พบ
ง.
ไม่มีนิพพาน
๑๔.
ความหน่ายที่เกิดด้วยปัญญา คือข้อใด ?
ก.
ภังคานุปัสสนาญาณ
ข.
สัจจานุโลมิกญาณ
ค.
สังขารุเปกขาญาณ
ง.
นิพพิทาญาณ
๑๕.
ข้อใด จัดเป็นยอดแห่งธรรมทั้งปวง ?
ก.
วิราคะ
ข.
นิพพิทา
ค.
นิพพิทาญาณ
ง.
ปฏิปทาแห่งนิพพิทา
๑๖.
คำใด ไม่ใช่ไวพจน์ของวิราคะ ?
ก.
ตัณหักขยะ
ข.
นิพพิทา
ค.
นิโรธะ
ง.
นิพพาน
๑๗.
ตัณหา คืออะไร ?
ก.
ความปรารถนา
ข.
ความมุ่งมั่น
ค.
ความทะยานอยาก
ง.
ความต้องการ
๑๘.
ตัณหามีอาการแส่ไปในอารมณ์ที่น่าใคร่ เรียกว่าอะไร ?
ก.
กามตัณหา
ข.
ภวตัณหา
ค.
วิภวตัณหา
ง.
กิเลสตัณหา
๑๙.
ปฏิปทาแห่งพระอรหันต์ผู้เจริญวิปัสสนาฝ่ายเดียว เรียกว่าอะไร ?
ก.
เจโตวิมุตติ
ข.
ปัญญาวิมุตติ
ค.
ตทังควิมุตติ
ง.
สมุจเฉทวิมุตติ
๒๐.
วิมุตติข้อใด จัดเป็นโลกิยะ ?
ก.
นิสสรณวิมุตติ
ข.
สมุจเฉทวิมุตติ
ค.
วิกขัมภนวิมุตติ
ง.
ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ
๒๑.
วิสุทธิ คือความหมดจด ใครบันดาลให้ได้ ?
ก.
พระพุทธเจ้า
ข.
พระอรหันต์
ค.
เทพเจ้า
ง.
ตนเอง
๒๒.
ความเห็นว่า ความผิดที่บุคคลทำแล้ว เป็นของคนทำแต่ผู้เดียว
ตรงกับหลักของศาสนาใด ?
ก.
ศาสนาพราหมณ์
ข.
ศาสนาคริสต์
ค.
ศาสนาพุทธ
ง.
ศาสนาอิสลาม
๒๓.
ข้อใดเป็นทางสันติภาพแท้ ตามวิถีพุทธ ?
ก.
เคารพกฎหมายบ้านเมือง
ข.
ปฏิบัติตามสหประชาชาติ
ค.
ทำกาย วาจา ใจให้สงบ
ง.
เคารพสิทธิมนุษยชน
๒๔.
ผู้ใด ชื่อว่าอยู่ใกล้พระนิพพาน ?
ก.
ผู้เห็นภัยในความประมาท
ข.
ผู้เคารพพระรัตนตรัย
ค.
ผู้เคารพในไตรสิกขา
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๕.
ผู้บรรลุอรหัตผลแล้ว แต่ยังมีชีวิตอยู่ ชื่อว่าได้….. ?
ก.
สอุปาทิเสสนิพพาน
ข.
อนุปาทิเสสนิพพาน
ค.
อยู่ใกล้นิพพาน
ง.
ถึงกระแสนิพพาน
๒๖.
เพราะละตัณหาเสียได้ ท่านเรียกว่าอะไร ?
ก.
นิพพิทา
ข.
นิพพาน
ค.
จิตตวิสุทธิ
ง.
ทิฏฐิวิสุทธิ
๒๗.
จุดมุ่งหมายสูงสุดของพระพุทธศาสนานั้น คืออะไร ?
ก.
การเกิดในสวรรค์
ข.
การได้เข้าเฝ้าพระพุทธเจ้า
ค.
การได้เข้าสู่นิพพาน
ง.
การเข้าถึงพรหมโลก
๒๘.
ความสุขที่เป็นสุดยอดของความสุขนั้น เกิดจากสิ่งใด ?
ก.
ความเอิบอิ่มใจ
ข.
ความมีทรัพย์
ค.
ความสงบ
ง.
ความไม่มีหนี้
๒๙.
ความดับกิเลสได้สิ้นเชิง จัดเป็นอะไร ?
ก.
สอุปาทิเสสนิพพาน
ข.
อนุปาทิเสสนิพพาน
ค.
นิพพาน
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๐.
ข้อใด ไม่จัดเป็นสมถกัมมัฏฐาน ?
ก.
กำหนดรู้อิริยาบถ
ข.
บริกรรมกสิณ
ค.
ภาวนาพุทธานุสสติ
ง.
บริกรรมว่า เราต้องตาย
๓๑.
ข้อใด จัดเป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน ?
ก.
กำหนดนับลมหายใจ
ข.
เจริญเมตตา
ค.
กำหนดรู้กายโดยความเป็นธาตุ
ง.
บริกรรมกสิณ
๓๒.
ข้อใด เป็นลักษณะของคนราคจริต ?
ก.
ชอบความสวยงาม
ข.
ชอบของดีราคาแพง
ค.
แต่งตัวเรียบร้อย
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๓.
ผู้รักสวยรักงาม ควรเจริญกัมมัฏฐานข้อใด ?
ก.
อสุภะ
ข.
เมตตา
ค.
อนุสสติ
ง.
กสิณ
๓๔.
คนมักโกรธ ต้องแก้ด้วยกัมมัฏฐานข้อใด ?
ก.
พรหมวิหาร
ข.
กายคตาสติ
ค.
วินีลกอสุภะ
ง.
สีลานุสสติ
๓๕.
ข้อใด กล่าวถูกต้อง ?
ก.
คนโมหจริตต้องพิจารณาศพ
ข.
คนมักโกรธต้องพิจารณากาย
ค.
คนโมหจริตต้องเจริญอานาปานสติ
ง.
คนราคจริตต้องแผ่เมตตา
๓๖.
ผู้ใด เจริญกัมมัฏฐานไม่ได้ผล ?
ก.
คนหนุ่มสาว
ข.
คนป่วย
ค.
เด็กนักเรียน
ง.
คนหลงลืมสติ
๓๗.
ข้อใด เป็นความหมายแท้ของเทวตานุสสติ ?
ก.
การบูชาเทวดา
ข.
ระลึกถึงเทวดา
ค.
ทำตนเองให้เป็นเทวดา
ง.
ระลึกถึงคุณที่ทำให้เป็นเทวดา
๓๘.
คนที่เจริญเมตตา ย่อมได้รับอานิสงส์อย่างไร ?
ก.
หลับอยู่ก็เป็นสุข
ข.
ตื่นอยู่ก็เป็นสุข
ค.
เทวดารักษา
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๙.
สมาธิที่เกิดได้เสมอ ๆ ในชีวิตประจำวัน คือข้อใด ?
ก.
ขณิกสมาธิ
ข.
สัมมาสมาธิ
ค.
อุปจารสมาธิ
ง.
อัปปนาสมาธิ
๔๐.
เครื่องปิดกั้นจิตไม่ให้เป็นสมาธิ เรียกว่าอะไร ?
ก.
อกุศลมูล
ข.
อาสวะ
ค.
กิเลสกาม
ง.
นิวรณ์
๔๑.
จิตที่เป็นสมาธิ เป็นจิตที่มีคุณสมบัติตามข้อใด ?
ก.
จิตไม่มีทุกข์
ข.
จิตไร้กังวล
ค.
จิตสงบเยือกเย็น
ง.
จิตแข็งกล้า
๔๒.
ธรรมชาติของจิตเป็นเช่นไร ?
ก.
เหมือนน้ำไหล
ข.
เหมือนสายลม
ค.
กำหนดรู้ได้ยาก
ง.
ห้ามยากรักษายาก
๔๓.
ข้อใด เป็นความง่วงจากถีนมิทธนิวรณ์ ?
ก.
อ่านหนังสือธรรมะก็ง่วง
ข.
อ่อนเพลียก็ง่วง
ค.
กินอิ่มมากก็ง่วง
ง.
อดนอนก็ง่วง
๔๔.
เป้าหมายสูงสุดของการเจริญสมถกัมมัฏฐาน คือข้อใด ?
ก.
ข่มตัณหาได้
ข.
ข่มนิวรณ์ได้
ค.
ละกิเลสอย่างหยาบได้
ง.
ละกิเลสอย่างละเอียดได้
๔๕.
เป้าหมายสูงสุดของการเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน คือข้อใด ?
ก.
มนุษยสมบัติ
ข.
สวรรคสมบัติ
ค.
พรหมสมบัติ
ง.
นิพพานสมบัติ
๔๖.
คำว่า
“ สมถะ ”
มีความหมายว่าอย่างไร ?
ก.
อยู่ตามลำพัง
ข.
ยินดีตามมีตามได้
ค.
สงบจากกิเลส
ง.
สงบจากนิวรณ์
๔๗.
คำว่า
“ วิปัสสนา ”
มีความหมายว่าอย่างไร ?
ก.
เห็นแจ้งรูปนาม
ข.
เห็นแจ้งอวิชชา
ค.
เห็นแจ้งสังขาร
ง.
เห็นแจ้งพระนิพพาน
๔๘.
อะไรเป็นกิจของวิปัสสนา ?
ก.
ความเห็นแจ้งรูปนาม
ข.
ความขจัดนิวรณ์
ค.
ความขจัดโมหะ
ง.
ความมีสมาธิ
๔๙.
อะไรเป็นผลของวิปัสสนา ?
ก.
จิตถึงอัปปนา
ข.
จิตรู้เห็นตามความเป็นจริง
ค.
จิตผ่องใส
ง.
จิตรู้เห็นพระนิพพาน
๕๐.
ข้อใด ไม่ใช่อารมณ์ของวิปัสสนา ?
ก.
กสิณ ๑๐
ข.
ขันธ์ ๕
ค.
อายตนะ ๑๒
ง.
ธาตุ ๑๘
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๖. หน้า ๑๙๑-๒๐๑.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐