ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันพฤหัสบดี ที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๖๐
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว ระบายในกระดาษใบตอบ
ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
คำว่า โลก ในส่วนปรมัตถปฏิปทา ตรงกับข้อใด ?
ก.
แผ่นดิน
ข.
หมู่สัตว์
ค.
ที่อยู่อาศัย
ง.
แผ่นดินและหมู่สัตว์
๒.
ผู้ไร้ปัญญาพิจารณา ไม่รู้โลกตามความเป็นจริง ตรงกับข้อใด ?
ก.
คนเขลา
ข.
คนอันธพาล
ค.
คนไร้การศึกษา
ง.
คนขาดสติ
๓.
ข้อใด ไม่ใช่อาการหมกอยู่ในโลก ?
ก.
เพลินสิ่งให้โทษ
ข.
หลงสิ่งอาจให้โทษ
ค.
ติดสิ่งล่อใจ
ง.
ติดความสุข
๔.
ทำอย่างไร จึงจะไม่ข้องอยู่ในโลก ?
ก.
ออกบวช
ข.
ไม่ยุ่งกับใคร
ค.
ไม่ติดในสิ่งล่อใจ
ง.
ปล่อยวาง
๕.
พระพุทธเจ้าทรงเชิญชวนให้มาดูโลก เพื่อประสงค์ใด ?
ก.
ให้มายินดี
ข.
ให้รู้สภาพโลก
ค.
ให้รู้ความจริง
ง.
ให้รู้ทันโลก
๖.
อาการสำรวมจิต ตรงกับข้อใด ?
ก.
สำรวมอินทรีย์
ข.
บำเพ็ญสมถะ
ค.
เจริญวิปัสสนา
ง.
ถูกทุกข้อ
๗.
บ่วงแห่งมาร หมายถึงข้อใด ?
ก.
กิเลสกาม
ข.
วัตถุกาม
ค.
กามฉันท์
ง.
กามตัณหา
๘.
ปฏิบัติอย่างไร จึงจะพ้นจากบ่วงแห่งมาร ?
ก.
สำรวมกาย
ข.
สำรวมวาจา
ค.
สำรวมจิต
ง.
สำรวมศีล
๙.
เมื่อเห็นสังขารว่า ไม่เที่ยงเป็นทุกข์... เป็นทางแห่งอะไร ?
ก.
นิพพิทา
ข.
วิราคะ
ค.
วิมุตติ
ง.
วิสุทธิ
๑๐.
สังขารในปฏิปทาแห่งนิพพิทา หมายถึงอะไร ?
ก.
สภาพปรุงแต่ง
ข.
สภาพที่เป็นเอง
ค.
รูปขันธ์
ง.
ปัญจขันธ์
๑๑.
สภาพที่เกิดขึ้นแล้วดับไปของสังขาร เรียกว่าอะไร ?
ก.
อนิจจตา
ข.
ทุกขตา
ค.
อนัตตตา
ง.
สามัญญลักษณะ
๑๒.
ความขาดแห่งสันตติ ทำให้เห็นอะไร ?
ก.
ความไม่เที่ยง
ข.
ความทุกข์
ค.
ความตาย
ง.
ความไม่มีตัวตน
๑๓.
ทุกขลักษณะแห่งสังขาร ตรงกับข้อใด ?
ก.
ไม่เที่ยง
ข.
ทนได้ยาก
ค.
ไม่ใช่ตัวตน
ง.
ไม่อยู่ในอำนาจ
๑๔.
สภาวทุกข์ ทุกข์ประจำสังขาร หมายถึงข้อใด ?
ก.
ความตาย
ข.
ความโศก
ค.
ความหิว
ง.
ความโกรธ
๑๕.
นิพัทธทุกข์ ทุกข์เนืองนิตย์ หมายถึงข้อใด ?
ก.
ความโศก
ข.
ความเกิด
ค.
ความหิว
ง.
ความเจ็บปวด
๑๖.
สันตาปทุกข์ ได้แก่อะไร ?
ก.
ความเจ็บ
ข.
ความโศก
ค.
ความหิว
ง.
ความร้อนรุม
๑๗.
เมื่อมีทรัพย์แล้ว ต้องคอยเฝ้ารักษามิให้สูญหาย จัดเป็นทุกข์ใด ?
ก.
สันตาปทุกข์
ข.
วิปากทุกข์
ค.
สหคตทุกข์
ง.
ทุกขขันธ์
๑๘.
อุปาทานขันธ์ ๕ ที่บุคคลเข้าไปยึดมั่น จัดเป็นทุกข์อะไร ?
ก.
ทุกข์รวบยอด
ข.
ทุกข์เนืองนิตย์
ค.
ทุกข์ไปด้วยกัน
ง.
ทุกข์ประจำ
๑๙.
ความเป็นอนัตตาแห่งสังขาร กำหนดรู้ได้ด้วยอาการอะไร ?
ก.
แย้งต่ออัตตา
ข.
ทนได้ยาก
ค.
ไม่เที่ยง
ง.
แปรปรวน
๒๐.
การพิจารณาเห็นสังขารเป็นอนัตตานั้น ต้องมีธรรมใดกำกับ ?
ก.
สมาธิ
ข.
ศรัทธา
ค.
โยนิโสมนสิการ
ง.
นิพพิทาญาณ
๒๑.
ข้อใด จัดเป็นปรมัตถสัจจะ จริงโดยปรมัตถ์ ?
ก.
บุคคล
ข.
สัตว์
ค.
ขันธ์
ง.
ที่อยู่อาศัย
๒๒.
ธรรมที่เป็นยอดแห่งธรรมทั้งปวง เรียกว่าอะไร ?
ก.
วิราคะ
ข.
วิสุทธิ
ค.
วิมุตติ
ง.
วิรัติ
๒๓.
ความเมาในข้อว่า มทนิมฺมทโน หมายถึงเมาในเรื่องใด ?
ก.
ลาภยศ
ข.
สุรา
ค.
สิ่งเสพติด
ง.
อาหาร
๒๔.
ความระหาย ในคำว่า ปิปาสวินโย มีสาเหตุมาจากอะไร ?
ก.
อาลัย
ข.
ความเมา
ค.
ตัณหา
ง.
ความกำหนัด
๒๕.
วิมุตติ ความหลุดพ้น มีลำดับต่อจากอะไร ?
ก.
นิพพิทา
ข.
วิราคะ
ค.
วิสุทธิ
ง.
สันติ
๒๖.
วิมุตติใด เกิดขึ้นด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว ?
ก.
ตทังควิมุตติ
ข.
เจโตวิมุตติ
ค.
ปัญญาวิมุตติ
ง.
วิกขัมภนวิมุตติ
๒๗.
ตามหลักวิสุุทธิคนจะบริสุทธิ์ได้ด้วยวิธีใด ?
ก.
ตัดกรรม
ข.
ล้างบาป
ค.
บวงสรวง
ง.
เจริญปัญญา
๒๘.
พิจารณาเห็นสังขารอย่างไร จัดเป็นอาทีนวญาณ ?
ก.
เป็นโทษ
ข.
ไม่เที่ยง
ค.
น่ากลัว
ง.
เป็นของปฏิกูล
๒๙.
การงดเว้นทุจริต ประกอบสุจริต จัดเป็นวิสุทธิใด ?
ก.
จิตตวิสุทธิ
ข.
ทิฏฐิวิสุทธิ
ค.
สีลวิสุทธิ
ง.
กังขาวิตรณวิสุทธิ
๓๐.
ิวิสุทธิคือความหมดจด ใครบันดาลให้ได้ ?
ก.
พระเจ้า
ข.
เทพเจ้า
ค.
ตนเอง
ง.
โหราจารย์
๓๑.
ข้อใดจัดเข้าในจิตตวิสุทธิ ?
ก.
สัมมาวาจา
ข.
สัมมากัมมันตะ
ค.
สัมมาอาชีวะ
ง.
สัมมาสมาธิ
๓๒.
ความบริสุทธิ์ฺภายในย่อมมีได้ด้วยอะไร ?
ก.
ทาน
ข.
ศีล
ค.
สมาธิ
ง.
ปัญญา
๓๓.
ข้อใด เป็นทางแห่งสันติภาพแท้ ?
ก.
ทำตามกฎหมาย
ข.
เชื่อผู้ใหญ่
ค.
เคารพสิทธิ์ผู้อื่น
ง.
กายวาจาใจสงบ
๓๔.
โลกามิส ได้แก่อะไร ?
ก.
กามคุณ
ข.
กามตัณหา
ค.
กามราคะ
ง.
กิเลสกาม
๓๕.
ความสงบเกิดขึ้นทางใด ?
ก.
ไตรสิกขา
ข.
ไตรลักษณ์
ค.
ไตรทวาร
ง.
ไตรรัตน์
๓๖.
นิพพาน แปลว่าความดับ หมายถึงอะไรดับ ?
ก.
กิเลส
ข.
ชีวิต
ค.
ธาตุ
ง.
อัตภาพ
๓๗.
ข้อว่า เธอจงวิดเรือนี้ เรือในที่นี้ หมายถึงอะไร ?
ก.
กามภพ
ข.
รูปภพ
ค.
อรูปภพ
ง.
อัตภาพ
๓๘.
การละตัณหาเสียได้ ท่านเรียกว่าอะไร ?
ก.
วิมุตติ
ข.
วิสุทธิ
ค.
สันติ
ง.
นิพพาน
๓๙.
ข้อใด กล่าวถึงสอุปาทิเสสนิพพานได้ถูกต้อง ?
ก.
สิ้นกิเลส
ข.
สิ้นชีวิต
ค.
สิ้นกิเลสมีชีวิต
ง.
สิ้นกิเลสสิ้นชีวิต
๔๐.
ข้อใด กล่าวถึงอนุปาทิเสสนิพพานได้ถูกต้อง ?
ก.
สิ้นกิเลส
ข.
สิ้นชีวิต
ค.
สิ้นกิเลสมีชีวิต
ง.
สิ้นกิเลสสิ้นชีวิต
๔๑.
สังสารวัฏฏ์ หมายถึงอะไร ?
ก.
กิเลส
ข.
กรรม
ค.
วิบาก
ง.
เวียนว่ายตายเกิด
๔๒.
อโหสิกรรม ให้ผลตรงกับข้อใด ?
ก.
ให้ผลภพนี้
ข.
ให้ผลภพหน้า
ค.
ให้ผลต่อเนื่อง
ง.
ให้ผลสำเร็จแล้ว
๔๓.
กรรมใด ให้ผลก่อนกรรมอื่น ?
ก.
ครุกรรม
ข.
พหุลกรรม
ค.
อาสันนกรรม
ง.
กตัตตากรรม
๔๔.
หัวใจสมถกัมมัฏฐาน เป็นคู่ปรับกับอะไร ?
ก.
อุปกิเลส
ข.
นิวรณ์
ค.
สังโยชน์
ง.
อุปาทาน
๔๕.
ประโยชน์ของการเจริญอสุภสมถกัมมัฏฐาน ตรงกับข้อใด ?
ก.
คลายสงสัย
ข.
คลายกำหนัด
ค.
ตัดกิเลส
ง.
ให้เกิดเมตตา
๔๖.
ประโยชน์ในการเจริญมรณัสสติ ตรงกับข้อใด ?
ก.
ทำให้ไม่ประมาท
ข.
ทำให้กล้าหาญ
ค.
ทำให้อดทน
ง.
ทำให้วางเฉย
๔๗.
คนราคจริต ควรเจริญกัมมัฏฐานใด ?
ก.
อสุภะ
ข.
พรหมวิหาร
ค.
กสิณ
ง.
อนุสสติ
๔๘.
คำว่าำ วิปัสสนา หมายถึงเห็นแจ้งอะไร ?
ก.
สังขาร
ข.
รูปนาม
ค.
อวิชชา
ง.
นิพพาน
๔๙.
การเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานถูกวิธี จะเห็นนามรูปในลักษณะใด ?
ก.
ไม่เที่ยง
ข.
เป็นทุกข์
ค.
เป็นอนัตตา
ง.
ตามความเป็นจริง
๕๐.
ประโยชน์สูงสุดของการเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐาน ตรงกับข้อใด ?
ก.
พ้นสังสารทุกข์
ข.
ระงับนิวรณ์
ค.
สิ้นสงสัย
ง.
พ้นจากอบาย
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๖๐. หน้า
สำเนาข้อสอบจริง สอบวันพฤหัสบดีที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙