ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นเอก
สอบในสนามหลวง
วันพุธ ที่ ๑ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๔๗
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาท (X) ลงในช่อง
ของข้อที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
คำว่า “
จงมาดูโลกน
ี้” พระองค์ตรัสไว้เพื่อพระประสงค์ใด ?
ก.
เพื่อให้เพลิดเพลิน
ข.
เพื่อมิให้หลงชม
ค.
เพื่อให้สลดใจ
ง.
เพื่อให้เห็นโลก
๒.
คำว่า “
พวกคนเขลา
” หมายถึงบุคคลในข้อใด ?
ก.
คนอันธพาล
ข.
คนสมองไม่ดี
ค.
คนเสียสติ
ง.
คนผู้ไร้วิจารณญาณ
๓.
คำว่า “
พวกผู้รู้
” หมายถึงใคร ?
ก.
ผู้รู้โลกธรรม
ข.
ผู้รู้โลกตามเป็นจริง
ค.
ผู้รู้ค่าของความงาม
ง.
ผู้รู้ทันเหตุการณ์
๔.
คำว่า “
หาข้องอยู่ไม่
” มีความหมายตรงกับข้อใด ?
ก.
ไม่พัวพันในสิ่งล่อใจ
ข.
ไม่เกี่ยวข้องกับใครๆ
ค.
ไม่ให้ความสนใจโลก
ง.
ไม่ปรารถนาเกิดในโลก
๕.
ในเรื่องนิพพิทา อาการเช่นไร เรียกว่า สำรวมจิต ?
ก.
ปิดใจไม่รับอารมณ์
ข.
ปิดตาหูไม่ดูไม่ฟัง
ค.
มนสิการกัมมัฏฐาน
ง.
ทำใจมิให้ขัดเคือง
๖.
กิเลสกาม คือเจตสิกอันเศร้าหมอง ได้ชื่อว่า มาร
เพราะเหตุใด ?
ก.
เพราะเป็นเครื่องผูกใจ
ข.
เพราะเป็นคุณเศร้าหมอง
ค.
เพราะล่อใจให้หลงระเริง
ง.
เพราะล้างผลาญคุณ
ความดี
๗.
วัตถุกามเป็นอารมณ์เครื่องผูกใจให้ติดอยู่ เรียกว่าอะไร ?
ก.
ขันธมาร
ข.
บ่วงมาร
ค.
มาร
ง.
มัจจุมาร
๘.
การพิจารณาสังขารในข้อใด ไม่ใช่ปฏิปทาแห่งนิพพิทา ?
ก.
ไม่เที่ยง
ข.
เป็นทุกข์
ค.
ไม่แย้งอัตตา
ง.
ไม่อยู่ในอำนาจ
๙.
ความหน่ายในขันธ์ ๕ เกิดขึ้นด้วยปัญญา จัดเป็นญาณอะไร ?
ก.
ภังคญาณ
ข.
วิปากญาณ
ค.
อาทีนวญาณ
ง.
นิพพิทาญาณ
๑๐.
เบญจขันธ์ที่ผันแปรเปลี่ยนแปลงไปในระหว่าง เรียกอะไร ?
ก.
ทุกขลักษณะ
ข.
อนิจจลักษณะ
ค.
อนัตตลักษณะ
ง.
ชราลักษณะ
๑๑.
เบญจขันธ์ที่ถูกเบียดเบียนบีบคั้นจากผัสสะต่างๆ เรียกอะไร ?
ก.
ทุกขลักษณะ
ข.
อนิจจลักษณะ
ค.
อนัตตลักษณะ
ง.
ชราลักษณะ
๑๒.
ข้อใด ไม่จัดเป็นสังขารในเรื่องนิพพิทา ?
ก.
อารมณ์
ข.
นิพพาน
ค.
ร่างกาย
ง.
วิญญาณ
๑๓.
คำว่า “
อนัตตา
” กล่าวหมายเอาข้อใด ?
ก.
ธรรมทั้งปวง
ข.
สังขารทั้งปวง
ค.
เวทนาทั้งปวง
ง.
ทุกข์ทั้งปวง
๑๔.
นิพัทธทุกข์ ได้แก่ข้อใด ?
ก.
การเกิด
ข.
การแก่
ค.
ความหิว
ง.
การตาย
๑๕.
อวัยวะของมนุษย์ไม่ทำหน้าที่ตามปกติ จนเกิดความทุกข์ขึ้น
จัดเป็นทุกข์ในข้อใด ?
ก.
สภาวทุกข์
ข.
สันตาปทุกข์
ค.
วิปากทุกข์
ง.
พยาธิทุกข์
๑๖.
สภาวทุกข์ ได้แก่ข้อใด ?
ก.
ความหิว
ข.
การเกิด
ค.
ความเสียใจ
ง.
ถูกกิเลสเผาใจ
๑๗.
ความทุกข์เพราะถูกไฟโทสะเผา จัดเป็นทุกข์ชนิดใด ?
ก.
นิพัทธทุกข์
ข.
สหคตทุกข์
ค.
วิปากทุกข์
ง.
สันตาปทุกข์
๑๘.
ทุกขขันธ์ หรือทุกข์รวบยอด เกิดขึ้นเพราะสาเหตุใด ?
ก.
เสื่อมลาภ
ข.
ถูกลงโทษ
ค.
บริหารขันธ์
ง.
การหากิน
๑๙.
ความเป็นอนัตตาแห่งสังขาร พึงกำหนดรู้ด้วยอาการอย่างไร ?
ก.
นั่นว่างเปล่า
ข.
นั่นของเรา
ค.
นั่นเป็นเรา
ง.
นั่นตัวเรา
๒๐.
เมื่อรู้ว่า “
สังขารเป็นไปตามเหตุปัจจัย
” พึงปฏิบัติอย่างไร ?
ก.
มีสุขทุกเมื่อ
ข.
มีอคติทุกเมื่อ
ค.
มีสติทุกเมื่อ
ง.
วางเฉยทุกเมื่อ
๒๑.
การเห็นสังขารทั้งปวงเป็นทุกข์แล้วเบื่อหน่าย เรียกว่าอะไร ?
ก.
วิราคะ
ข.
นิพพิทา
ค.
วิมุตติ
ง.
นิพพาน
๒๒.
ความหน่ายในสังขาร เป็นเหตุให้อะไรเกิดขึ้น ?
ก.
ความหลุดพ้น
ข.
ความท้อแท้
ค.
ความฟุ้งซ่าน
ง.
ความสิ้นกำหนัด
๒๓.
ความติดพันห่วงใยในอารมณ์อันเป็นที่รัก เรียกว่าอะไร ?
ก.
ความเมา
ข.
ความระหาย
ค.
อาลัย
ง.
ตัณหา
๒๔.
ความเวียนเกิดด้วยอำนาจกิเลส กรรม วิบาก เรียกว่าอะไร ?
ก.
วัฏฏะ
ข.
อาลัย
ค.
ตัณหา
ง.
วิบาก
๒๕.
ข้อใด ไม่ใช่อารมณ์ยั่วยวนให้เกิดความเมา ในเรื่องวิราคะ ?
ก.
สุข
ข.
ทุกข์
ค.
บริวาร
ง.
ชีวิต
๒๖.
การถือความศักดิ์สิทธิ์อันเนื่องมาจากเทพเจ้า มีการบวงสรวง
ขอพรจากพระอินทร์เป็นต้น สงเคราะห์เข้าในอาสวะข้อใด ?
ก.
กามาสวะ
ข.
ภวาสวะ
ค.
อวิชชาสวะ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๗.
วิกขัมภนวิมุตติ เป็นความหลุดพ้นด้วยอำนาจแห่งอะไร ?
ก.
ฌาน
ข.
ปัญญา
ค.
ญาณ
ง.
สัทธา
๒๘.
ในเรื่องวิสุทธิ ความบริสุทธิ์ภายใน ย่อมมีได้ด้วยอะไร ?
ก.
ศีล
ข.
สมาธิ
ค.
ปัญญา
ง.
ลอยบาป
๒๙.
การพ้นจากกิเลสด้วยอำนาจอริยมรรค ละกิเลสได้เด็ดขาด
จัดเป็นผลของวิมุตติข้อใด ?
ก.
ตทังควิมุตติ
ข.
สมุจเฉทวิมุตติ
ค.
ปฏิปัสสัทธิวิมุตติ
ง.
นิสสรณวิมุตติ
๓๐.
พิจารณาเห็นสังขารอย่างไร จัดเป็นอุทยัพพยญาณ ?
ก.
เห็นว่าไม่เที่ยง
ข.
เห็นว่าเป็นทุกข์
ค.
เห็นว่าเป็นอนัตตา
ง.
เห็นว่าว่างเปล่า
๓๑.
พิจารณาเห็นสังขารอย่างไร จัดเป็นภยตูปัฏฐานญาณ ?
ก.
เห็นเป็นของหนัก
ข.
เห็นเป็นของย่อยยับ
ค.
เห็นความเกิดดับ
ง.
เห็นเป็นของน่ากลัว
๓๒.
ข้อใด เป็นทางนำไปสู่ความดับทุกข์ อันประเสริฐที่สุด ?
ก.
อริยทรัพย์ ๗
ข.
มรรคมีองค์ ๘
ค.
บุญกิริยาวัตถุ ๑๐
ง.
โลกธรรม ๘
๓๓.
การเลี้ยงชีพโดยงดเว้นทุจริตประกอบสุจริต จัดเป็นวิสุทธิใด ?
ก.
จิตตวิสุทธิ
ข.
ทิฏฐิวิสุทธิ
ค.
กังขาวิตรณวิสุทธิ
ง.
สีลวิสุทธิ
๓๔.
ธรรมที่ส่งผลต่อกันโดยลำดับจนถึงนิพพาน เหมือนการเดิน
ทางด้วยรถ ๗ ผลัด ตรงกับข้อใด ?
ก.
วิสุทธิ ๗
ข.
อริยทรัพย์ ๗
ค.
สัปปุริสธรรม ๗
ง.
โพชฌงค์ ๗
๓๕.
ผู้มีความสงบในการทำ การพูด การคิด เว้นจากการทำร้ายกัน
ชื่อว่ามีธรรมใดอยู่ภายใน ?
ก.
วิสุทธิ
ข.
วิมุตติ
ค.
สันติ
ง.
วิราคะ
๓๖.
กามคุณ ๕ มีรูปเป็นต้น ได้ชื่อว่าโลกามิส เพราะเหตุใด ?
ก.
เพราะเป็นสิ่งน่าปรารถนา
ข.
เพราะเป็นเหยื่อตกปลา
ค.
เพราะทำให้เกิดในโลกนี้
ง.
เพราะล่อใจให้ติดในโลก
๓๗.
คนที่ไม่ประมาทและเห็นภัยในความประมาท จัดเป็นคน
เช่นไร ?
ก.
รู้จักพระนิพพาน
ข.
ใกล้พระนิพพาน
ค.
เข้าสู่พระนิพพาน
ง.
ถึงพระนิพพาน
๓๘.
พระดำรัสว่า “
ภิกษุเธอจงวิดเรือนี้
” เรือในที่นี้ คืออะไร ?
ก.
อัตภาพ
ข.
กามภพ
ค.
รูปภพ
ง.
อรูปภพ
๓๙.
ข้อว่า ดิน น้ำ ไฟ ลม ไม่มีในนิพพานนั้น ส่องความว่าอะไร ?
ก.
นิพพานเป็นโลกหนึ่ง
ข.
นิพพานเป็นนามขันธ์
ค.
นิพพานมิใช่รูปขันธ์
ง.
นิพพานมิใช่เบญจขันธ์
๔๐.
ท่านสอนตจปัญจกกัมมัฏฐานก่อนกัมมัฏฐานอื่น เพื่ออะไร ?
ก.
เพื่อต่อสู้กับกามฉันท์
ข.
เพื่อมิให้ง่วงนอน
ค.
เพื่อปฏิบัติได้สะดวก
ง.
เพื่อให้บรรลุฌาน
๔๑.
กายเหมือนเรือ ใจเหมือนนายเรือ หากปล่อยใจให้หลงระเริง
ไม่ฝึกอบรมจิต เป็นเหตุเสียหายอย่างไร ?
ก.
ชักจูงให้ประพฤติชั่ว
ทางกาย
ข.
ชักจูงให้ประพฤติชั่ว
ทางวาจา
ค.
ชักจูงให้อยู่ในความ
ประมาท
ง.
ถูกทุกข้อ
๔๒.
พิจารณาผม ขน เล็บ ฟัน หนัง โดยอาการอย่างไร จึงจัดเป็น
กายคตาสติ ?
ก.
โดยเป็นของปฏิกูล
ข.
โดยเป็นของน่ารักษา
ค.
โดยเป็นของงดงาม
ง.
โดยเป็นของมีสีน่ารัก
๔๓.
ผู้เจริญเมตตาพึงน้อมนึกถึงคนที่ตนไม่ชอบ ด้วยอาการ
อย่างไร จึงจะหายเกลียดชัง ?
ก.
อย่านึกถึงเขาเลยดีกว่า
ข.
อย่าคบค้าสมาคมด้วย
ค.
นึกถึงความดีที่เขามีอยู่
ง.
หลีกหนีเสียให้ห่างไกล
๔๔.
ผู้เจริญเมตตา เมื่อจะแผ่โดยเจาะจง พึงน้อมใจนึกถึงใครก่อน ?
ก.
บิดา มารดา
ข.
ครู อาจารย์
ค.
สามี ภรรยา
ง.
บุตร ธิดา
๔๕.
ผู้เจริญกรุณา พึงกำหนดสัตว์ชนิดใดเป็นอารมณ์ ?
ก.
สัตว์เลี้ยง
ข.
สัตว์บาดเจ็บ
ค.
สัตว์น่ารัก
ง.
สัตว์ทุกจำพวก
๔๖.
ผู้เจริญกรุณาอยู่เนืองๆ ย่อมกำจัดอะไรได้ ?
ก.
พยาบาท
ข.
อภิชฌา
ค.
กามราคะ
ง.
วิหิงสา
๔๗.
การบริกรรมนึกว่า “
สัตว์ทั้งหลาย จงอย่าเสื่อมวิบัติไปจากสุข
สมบัติที่ตนได้แล้วเลย
” เป็นลักษณะแห่งพรหมวิหารข้อใด ?
ก.
เมตตา
ข.
กรุณา
ค.
มุทิตา
ง.
อุเบกขา
๔๘.
ผู้เจริญพุทธานุสสติ ควรระลึกถึงอะไร ?
ก.
ประวัติของพระพุทธเจ้า
ข.
คำสอนของพระพุทธเจ้า
ค.
พระรูปของพระพุทธเจ้า
ง.
พระคุณของพระพุทธเจ้า
๔๙.
ข้อใด ไม่ใช่หัวข้อของสติปัฏฐาน ๔ ?
ก.
กาย
ข.
สัญญา
ค.
จิต
ง.
ธรรม
๕๐.
ผู้เจริญกัมมัฏฐานไม่ได้ผลตามที่ต้องการ เพราะสาเหตุใด ?
ก.
มีเรื่องกังวลใจ
ข.
มีทรัพย์สมบัติมาก
ค.
ไม่อยู่ในป่าช้า
ง.
เป็นคนเจ้าอารมณ์
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๗. หน้า ๑๘๑-๑๘๙.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐