ปัญหาและเฉลย
วิชาธรรม ธรรมศึกษาชั้นโท
สอบในสนามหลวง
วันศุกร์ ที่ ๑๐ พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๔๙
เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น.
คำสั่ง :
จงเลือกคำตอบที่ถูกที่สุดเพียงคำตอบเดียว แล้วกากบาทลงในช่องของข้อ
ที่ต้องการในกระดาษคำตอบ ให้เวลา ๕๐ นาที (๑๐๐ คะแนน)
๑.
ข้อใด เป็นวิธีปฏิบัติทำให้จิตผ่องใส ?
ก.
ไหว้พระสวดมนต์
ข.
เจริญกัมมัฏฐาน
ค.
เดินจงกรม
ง.
ถูกทุกข้อ
๒.
ข้อใด เป็นผลของการเจริญกัมมัฏฐาน ?
ก.
สุขภาพจิตดี
ข.
หลับตื่นเป็นสุข
ค.
ทำงานอย่างมีสติ
ง.
ถูกทุกข้อ
๓.
เมื่อกล่าวบทว่า “
อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ
…” ควรระลึกถึงอะไร ?
ก.
พระพุทธคุณ
ข.
พระธรรมคุณ
ค.
พระสังฆคุณ
ง.
พระรัตนตรัย
๔.
บทว่า “
สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม
…” ควรระลึกถึงอะไร ?
ก.
พระพุทธคุณ
ข.
พระธรรมคุณ
ค.
พระสังฆคุณ
ง.
พระรัตนตรัย
๕.
บทว่า “
สุปฏิปนฺโน ภควโต
…” ควรระลึกถึงอะไร ?
ก.
พระพุทธคุณ
ข.
พระธรรมคุณ
ค.
พระสังฆคุณ
ง.
พระรัตนตรัย
๖.
พระสังฆรัตนะ หมายถึงพระสงฆ์ประเภทใด ?
ก.
สมมุติสงฆ์
ข.
อริยสงฆ์
ค.
พระอรหันต์
ง.
ถูกทุกข้อ
๗.
จักรู้แจ้งสรรพสิ่งตามความเป็นจริง ต้องเจริญอะไร ?
ก.
กัมมัฏฐาน
ข.
สมถกัมมัฏฐาน
ค.
วิปัสสนากัมมัฏฐาน
ง.
อนุสสติกัมมัฏฐาน
๘.
รู้อย่างไร จึงเรียกว่ารู้ตามความเป็นจริง ?
ก.
รู้ว่าไม่เที่ยง
ข.
รู้ว่าเป็นทุกข์
ค.
รู้ว่าเป็นอนัตตา
ง.
รู้ว่าเป็นไตรลักษณ์
๙.
กาม มีโทษโดยรวมแก่สัตว์โลกอย่างไร ?
ก.
ทำให้ข้องอยู่ในโลก
ข.
ทำให้รบราฆ่าฟันกัน
ค.
ทำให้เห็นแก่ตัว
ง.
ทำให้แข่งขันกันในโลก
๑๐.
คำว่า “
อิจฉาริษยา
” มาจากคำบาลีใด ?
ก.
ราคะ
ข.
โทสะ
ค.
อิจฉา
ง.
อิสสา
๑๑.
บูชาอย่างไหน พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นเลิศของการบูชา ?
ก.
อามิสบูชา
ข.
ปฏิบัติบูชา
ค.
สักการบูชา
ง.
ธรรมบูชา
๑๒.
“
ปูชนียบุคคล
” ในเรื่องบูชา ๒ หมายถึงบุคคลเช่นไร ?
ก.
คนดีมีเมตตา
ข.
คนดีของสังคม
ค.
คนที่ควรบูชายกย่อง
ง.
คนปฏิบัติธรรม
๑๓.
ศิษย์ปฏิบัติต่อครูอาจารย์อย่างไร จึงเรียกว่าปฏิบัติบูชา ?
ก.
จัดพิธีไหว้ครูทุกปี
ข.
ให้ของขวัญวันเกิด
ค.
ปฏิบัติยามเจ็บไข้
ง.
ปฏิบัติตามคำสอน
๑๔.
เมื่อมีผู้มาเยือน ควรปฏิสันถารอย่างไร ?
ก.
ต้อนรับให้ควรแก่ฐานะ
ข.
แนะนำประโยชน์ให้
ค.
ถามถึงธุระที่มาเยือน
ง.
รู้หน้าไม่รู้ใจไม่เปิดประตู
๑๕.
ผู้ถูกกามวิตกครอบงำ มักมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก.
อยากได้ของคนอื่น
ข.
โกงเมื่อมีโอกาส
ค.
เห็นแก่ตัวเห็นแก่ได้
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๖.
จะบรรเทากามวิตกนั้น ด้วยวิธีใด ?
ก.
หมั่นแผ่เมตตา
ข.
หมั่นบริจาค
ค.
หมั่นเข้าวัด
ง.
หมั่นฟังธรรม
๑๗.
ผู้ถูกพยาบาทวิตกครอบงำ มักมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก.
ลอบยิงด้วยปืน
ข.
ลอบวางระเบิด
ค.
ดักฆ่ากลางทาง
ง.
ถูกทุกข้อ
๑๘.
จะบรรเทาพยาบาทวิตกนั้น ด้วยวิธีใด ?
ก.
แผ่เมตตา - ให้อภัย
ข.
แผ่กรุณา - ให้อภัย
ค.
แผ่มุทิตา - ให้อภัย
ง.
วางอุเบกขา - ให้อภัย
๑๙.
“
ปล่อยเงินกู้ คิดดอกแพง
” สงเคราะห์เข้าในอกุศลวิตกใด ?
ก.
กามวิตก
ข.
พยาบาทวิตก
ค.
วิหิงสาวิตก
ง.
ข้อ ก. และ ค. ถูก
๒๐.
คนที่ไม่รู้จักบาปบุญคุณโทษ เพราะถูกไฟชนิดใดแผดเผา ?
ก.
ไฟคือราคะ
ข.
ไฟคือโทสะ
ค.
ไฟคือโมหะ
ง.
ไฟคือตัณหา
๒๑.
คนที่มักโกรธ มักมีอารมณ์เสีย เพราะถูกไฟชนิดใดแผดเผา ?
ก.
ไฟคือราคะ
ข.
ไฟคือโทสะ
ค.
ไฟคือโมหะ
ง.
ไฟทั้ง ๓ ชนิด
๒๒.
คนถูกไฟคือราคะแผดเผา มักมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก.
ละเมิดทางเพศ
ข.
ยกพวกตีกัน
ค.
เครียดหงุดหงิด
ง.
ไหว้สิ่งศักดิ์สิทธิ์
๒๓.
ประชาธิปไตยที่แท้จริง มุ่งประโยชน์ของใคร ?
ก.
ของชาติ
ข.
ของประชาชน
ค.
ของสังคม
ง.
ของพรรคการเมือง
๒๔.
ประชาธิปไตยล้มเหลว เพราะขาดอธิปเตยยะข้อใด ?
ก.
อัตตาธิปเตยยะ
ข.
โลกาธิปเตยยะ
ค.
ธัมมาธิปเตยยะ
ง.
อนาธิปเตยยะ
๒๕.
“
แย่งอำนาจกันครอง
” จัดเป็นตัณหาอะไร ?
ก.
กามตัณหา
ข.
ภวตัณหา
ค.
วิภวตัณหา
ง.
กิเลสตัณหา
๒๖.
“
พอสมหวังเป็นสุข ไม่นานก็เป็นทุกข์ อยากได้สูงยิ่งขึ้น
ไปอีก
” จัดเป็นตัณหาข้อใด ?
ก.
กามตัณหา
ข.
ภวตัณหา
ค.
วิภวตัณหา
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๗.
“
รักษากายไม่ให้วิปริต รักษาจิตอย่าให้วิปลาส วาจามีศีล
สุขล้ำ
” ชื่อว่าปฏิบัติตามข้อใด ?
ก.
วินัยปิฎก
ข.
สุตตันตปิฎก
ค.
อภิธรรมปิฎก
ง.
ทั้งสามปิฎก
๒๘.
การเล่าเรียนพระพุทธพจน์ คือพระไตรปิฎก จัดเป็นสัทธรรมใด ?
ก.
ปริยัติ
ข.
ปฏิบัติ
ค.
ปฏิเวธ
ง.
ถูกทุกข้อ
๒๙.
การช่วยเหลือผู้ประสบภัย สงเคราะห์เข้าในพุทธจริยาใด ?
ก.
พุทธัตถจริยา
ข.
ญาตัตถจริยา
ค.
โลกัตถจริยา
ง.
อัตตัตถจริยา
๓๐.
อาการเช่นไรเรียกว่า “
วัฏฏะ
” ?
ก.
การเวียนเทียน
ข.
การเวียนว่ายตายเกิด
ค.
การแก่ เจ็บ ตาย
ง.
การเวียนศพรอบเมรุ
๓๑.
“
ให้ทุกข์แก่ท่าน ทุกข์นั้นถึงตัว
” มีความหมายตรงกับวัฏฏะใด ?
ก.
กิเลส
ข.
กรรม
ค.
วิบาก
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๒.
การฝึกฝนพัฒนาในข้อใด จัดเป็นจิตตสิกขา ?
ก.
รักษาจิตให้มีสิกขา
ข.
รักษาจิตให้อยู่ในอำนาจ
ค.
รักษาจิตให้รู้แจ้งธรรม
ง.
รักษาจิตให้หมดตัณหา
๓๓.
เมื่อเกิดอารมณ์โกรธผู้อื่น ควรปฏิบัติอย่างไร ?
ก.
รีบไปทำกิจอื่นก่อน
ข.
ตั้งสติแผ่เมตตา
ค.
อดกลั้นหายใจลึกๆ
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๔.
ควรปฏิบัติต่อคนที่โกรธเราอย่างไร ?
ก.
อดกลั้นไม่โกรธตอบ
ข.
แผ่เมตตาให้เสมอ
ค.
หมั่นทำดีให้
ง.
ถูกทุกข้อ
๓๕.
เมตตา ควรแผ่ให้แก่สัตว์จำพวกใด ?
ก.
สัตว์ทุกจำพวก
ข.
สัตว์ผู้ประสบทุกข์
ค.
สัตว์ผู้ประสบสุข
ง.
สัตว์ที่ตายแล้ว
๓๖.
กรุณา ควรแผ่ให้แก่สัตว์จำพวกใด ?
ก.
สัตว์ทุกจำพวก
ข.
สัตว์ผู้ประสบทุกข์
ค.
สัตว์ผู้ประสบสุข
ง.
สัตว์ผู้ใกล้ตาย
๓๗.
จะแก้โรคริษยาด้วยวิธีใด ?
ก.
หมั่นเจริญเมตตา
ข.
หมั่นเจริญกรุณา
ค.
หมั่นเจริญมุทิตา
ง.
หมั่นเจริญอุเบกขา
๓๘.
คนมีจิตตระหนี่เห็นแก่ตัว ควรฟังอนุปุพพีกถาข้อใด ?
ก.
ทานกถา
ข.
สีลกถา
ค.
สัคคกถา
ง.
กามาทีนวกถา
๓๙.
อนุปุพพีกถาข้อใด ส่งเสริมให้ไม่ฆ่าและไม่เบียดเบียนกัน ?
ก.
ทานกถา
ข.
สีลกถา
ค.
สัคคกถา
ง.
ข้อ ก. และ ข. ถูก
๔๐.
ผู้ประกอบด้วยวัณณมัจฉริยะ มักมีพฤติกรรมเช่นไร ?
ก.
เห็นแก่ตัว
ข.
กลัวคนอื่นจะดีกว่า
ค.
ปากว่าตาขยิบ
ง.
ชอบมุบมิบเป็นของตัว
๔๑.
คนสัทธาจริต มักชอบเชื่อข่าวลือ ควรแก้ด้วยวิธีใด ?
ก.
ฟังหลาย ๆ ด้าน
ข.
คบหาบัณฑิต
ค.
พิจารณาหาเหตุผล
ง.
หมั่นฟังเทศน์
๔๒.
คนไม่รู้จริง ไม่วิเคราะห์ แต่ชอบวิจารณ์ จัดเป็นคนจริตอะไร ?
ก.
สัทธาจริต
ข.
วิตกจริต
ค.
พุทธิจริต
ง.
โมหจริต
๔๓.
พิจารณาเห็นร่างกายไม่งาม ปฏิกูลเหมือนซากศพ ช่วยบรรเทา
จริตอะไรได้ ?
ก.
ราคจริต
ข.
โทสจริต
ค.
โมหจริต
ง.
วิตกจริต
๔๔.
ผู้มีความรู้คู่คุณธรรม เก่ง ดี ไม่โกง อนุโลมตามพุทธคุณใด ?
ก.
สมฺมาสมฺพุทฺโธ
ข.
วิชฺชาจรณสมฺปนฺโน
ค.
สุคโต โลกวิทู
ง.
สตฺถา เทวมนุสฺสานํ
๔๕.
เมื่อพบพระสงฆ์ในที่ใด ควรทำความเคารพแล้วระลึกถึง…?
ก.
พระพุทธคุณ
ข.
พระธรรมคุณ
ค.
พระสังฆคุณ
ง.
ขอให้พระคุ้มครองตน
๔๖.
ข้อใด เป็นผลของทานบารมี ?
ก.
มีปัญญามาก
ข.
มีบริวารมาก
ค.
มีอายุยืน
ง.
มีรูปงาม
๔๗.
คนที่ตั้งใจแน่วแน่ จะไม่เสพสิ่งเสพติด ชื่อว่าบำเพ็ญบารมีใด ?
ก.
ขันติบารมี
ข.
สีลบารมี
ค.
อุเบกขาบารมี
ง.
อธิษฐานบารมี
๔๘.
“
รุดไปข้างหน้า ดีกว่านั่งเต๊ะท่าอยู่กับที่
” หมายถึงบารมีใด ?
ก.
ปัญญาบารมี
ข.
วิริยบารมี
ค.
สัจจบารมี
ง.
ขันติบารมี
๔๙.
ผู้พลีชีพเพื่อชาติ จัดว่าบำเพ็ญบารมีใด ?
ก.
ทานบารมี
ข.
ทานอุปบารมี
ค.
ทานปรมัตถบารมี
ง.
เมตตาบารมี
๕๐.
“
โชติ โชติปรายโน สว่างมาสว่างไป
” มีความหมายตรงกับ
ข้อใด ?
ก.
ชนกกรรม
ข.
อุปัตถัมภกกรรม
ค.
อุปปีฬกกรรม
ง.
อุปฆาตกกรรม
เอกสารอ้างอิง
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๔๙. หน้า ๒๐๔-๒๑๔.
ข้อสอบสนามหลวง
พ.ศ. ๒๕๔๖
พ.ศ. ๒๕๔๗
พ.ศ. ๒๕๔๘
พ.ศ. ๒๕๔๙
พ.ศ. ๒๕๕๐
พ.ศ. ๒๕๕๑
พ.ศ. ๒๕๕๒
พ.ศ. ๒๕๕๓
พ.ศ. ๒๕๕๔
พ.ศ. ๒๕๕๕
พ.ศ. ๒๕๕๖
พ.ศ. ๒๕๕๗
พ.ศ. ๒๕๕๘
พ.ศ. ๒๕๕๙
พ.ศ. ๒๕๖๐
พ.ศ. ๒๕๖๑
พ.ศ. ๒๕๖๒
พ.ศ. ๒๕๖๓
พ.ศ. ๒๕๖๔
พ.ศ. ๒๕๖๕
พ.ศ. ๒๕๖๖
พ.ศ. ๒๕๖๗
พ.ศ. ๒๕๖๘
พ.ศ. ๒๕๖๙
พ.ศ. ๒๕๗๐
พ.ศ. ๒๕๗๑
พ.ศ. ๒๕๗๒
พ.ศ. ๒๕๗๓
พ.ศ. ๒๕๗๔
พ.ศ. ๒๕๗๕
พ.ศ. ๒๕๗๖
พ.ศ. ๒๕๗๗
พ.ศ. ๒๕๗๘
พ.ศ. ๒๕๗๙
พ.ศ. ๒๕๘๐
พ.ศ. ๒๕๘๑
พ.ศ. ๒๕๘๒
พ.ศ. ๒๕๘๓
พ.ศ. ๒๕๘๔
พ.ศ. ๒๕๘๕
พ.ศ. ๒๕๘๖
พ.ศ. ๒๕๘๗
พ.ศ. ๒๕๘๘
พ.ศ. ๒๕๘๙
พ.ศ. ๒๕๙๐
พ.ศ. ๒๕๙๑
พ.ศ. ๒๕๙๒
พ.ศ. ๒๕๙๓
พ.ศ. ๒๕๙๔
พ.ศ. ๒๕๙๕
พ.ศ. ๒๕๙๖
พ.ศ. ๒๕๙๗
พ.ศ. ๒๕๙๘
พ.ศ. ๒๕๙๙
พ.ศ. ๒๖๐๐