๑. |
สมถกัมมัฏฐาน เป็นอุบายให้สงบอะไร ? |
|
ก. |
สงบกาย |
ข. |
สงบวาจา |
|
ค. |
สงบใจ |
ง. |
เรืองปัญญา |
|
|
|
|
|
๒. |
การเจริญวิปัสสนากัมมัฏฐานมีประโยชน์อย่างไร ? |
|
ก. |
ทำให้จิตสงบ |
ข. |
ทำให้รู้แจ้ง |
|
ค. |
ทำให้จิตผ่องใส |
ง. |
ทำให้เบื่อหน่าย |
|
|
|
|
|
๓. |
ผู้ลุ่มหลงหมกมุ่นอยู่ในสิ่งอันน่าใคร่ เพราะถูกอะไรครอบงำ ? |
|
ก. |
กิเลสกาม |
ข. |
วัตถุกาม |
|
ค. |
กามาสวะ |
ง. |
กามวิตก |
|
|
|
|
|
๔. |
ปฏิบัติบูชา มีประโยชน์สูงสุดอย่างไร ? |
|
ก. |
ทำให้พ้นทุกข์ |
ข. |
ทำให้มีบริวาร |
|
ค. |
ทำให้จิตสงบ |
ง. |
ทำให้คนนับถือ |
|
|
|
|
|
๕. |
ต้อนรับแบบใด จัดเป็นธัมมปฏิสันถาร ? |
|
ก. |
เลี้ยงอาหาร |
ข. |
สนทนาธรรม |
|
ค. |
ให้สิ่งของ |
ง. |
ให้หนังสือ |
|
|
|
|
|
๖. |
อะไรเป็นเจตสิกสุข คือสุขทางใจ ? |
|
ก. |
มีทรัพย์ใช้จ่าย |
ข. |
ไม่มีโรค |
|
ค. |
สุขภาพจิตดี |
ง. |
พลานามัยดี |
|
|
|
|
|
๗. |
กามวิตก เป็นเหตุให้ละเมิดศีลข้อใด ? |
|
ก. |
ปาณาติบาต |
ข. |
อทินนาทาน |
|
ค. |
กาเมสุ มิจฉาจาร |
ง. |
มุสาวาท
|
|
|
|
|
|
๘. |
วิหิงสาวิตก มีอะไรเป็นมูลเหตุ?
|
|
ก. |
โลภะ |
ข. |
โทสะ |
|
ค. |
โมหะ |
ง. |
ราคะ |
|
|
|
|
|
๙. |
คิดอย่างไร จัดเป็นอพยาบาทวิตก ? |
|
ก. |
ออกจากกาม |
ข. |
ไม่คิดปองร้าย |
|
ค. |
ไม่ลุ่มหลง |
ง. |
ไม่เบียดเบียน |
|
|
|
|
|
๑๐. |
ราคะ โทสะ โมหะ เผาอะไรให้เร่าร้อน ?
|
|
ก. |
โลก |
ข. |
กิเลส |
|
ค. |
จิตใจ |
ง. |
ร่างกาย |
|
|
|
|
|
๑๑. |
คนหงุดหงิดฉุนเฉียวโกรธง่าย เพราะถูกไฟใดแผดเผา ?
|
|
ก. |
ไฟคือราคะ |
ข. |
ไฟคือโทสะ |
|
ค. |
ไฟคือโมหะ |
ง. |
ไฟคือตัณหา |
|
|
|
|
|
๑๒. |
อัตตาธิปเตยยะ ถืออะไรเป็นใหญ่ ? |
|
ก. |
ตนเอง |
ข. |
สังคม |
|
ค. |
พวกพ้อง |
ง. |
ความถูกต้อง |
|
|
|
|
|
๑๓. |
คนถือธรรมเป็นใหญ่ มีลักษณะเช่นไร ?
|
|
ก. |
เห็นแก่พวก |
ข. |
เห็นความถูกต้อง |
|
ค. |
เห็นประโยชน์ตน |
ง. |
เห็นความถูกใจ |
|
|
|
|
|
๑๔. |
ปัญญาหยั่งรู้เหตุและผลตามความเป็นจริง เรียกว่าอะไร ? |
|
ก. |
ฌาน |
ข. |
ญาณ |
|
ค. |
สมาธิ |
ง. |
วิมุตติ |
|
|
|
|
|
๑๕. |
ความอยากในข้อใด ไม่จัดเป็นกามตัณหา ?
|
|
ก. |
อยากพ้นทุกข์ |
ข. |
อยากได้คำชม |
|
ค. |
อยากเห็นคนสวย |
ง. |
อยากรวยทรัพย์ |
|
|
|
|
|
๑๖. |
ข้อใด จัดเป็นภวตัณหา ?
|
|
ก. |
อยากเป็นใหญ่ |
ข. |
อยากได้คำชม |
|
ค. |
อยากได้ของฝาก |
ง. |
อยากรวยทรัพย์ |
|
|
|
|
|
๑๗. |
ข้อบัญญัติเรื่องศีล จัดอยู่ในปิฎกใด ? |
|
ก. |
พระวินัย |
ข. |
พระสุตตันตะ |
|
ค. |
พระอภิธรรม |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๑๘. |
ข้อใด จัดเป็นโลกัตถจริยา ?
|
|
ก. |
โปรดสัตว์โลก |
ข. |
สงเคราะห์พระญาติ |
|
ค. |
ประกาศพระศาสนา |
ง. |
บัญญัติสิกขาบท |
|
|
|
|
|
๑๙. |
ข้อใด จัดเป็นกรรมในวัฏฏะ ? |
|
ก. |
เกิดกิเลส |
ข. |
ทำกรรม |
|
ค. |
รับผลกรรม |
ง. |
เวียนว่ายตายเกิด |
|
|
|
|
|
๒๐. |
เพราะเหตุใด มนุษย์จึงต้องเวียนว่ายตายเกิด ?
|
|
ก. |
ทำกรรมชั่ว |
ข. |
มีโลกนี้โลกหน้า |
|
ค. |
รับผลกรรม |
ง. |
มีกิเลสกรรมวิบาก |
|
|
|
|
|
๒๑. |
อธิสีลสิกขา ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
ฝึกกาย วาจา |
ข. |
รักษาจิต |
|
ค. |
อบรมปัญญา |
ง. |
อบรมจิต |
|
|
|
|
|
๒๒. |
ข้อใด เป็นลักษณะของอนิจจตา ? |
|
ก. |
คงทนถาวร |
ข. |
ไม่เที่ยงแท้ |
|
ค. |
ทนได้อยาก |
ง. |
ไม่มีตัวตน |
|
|
|
|
|
๒๓. |
พิจารณาแล้วอดกลั้น ควรใช้เมื่อถูกอะไรครอบงำ ?
|
|
ก. |
ทุกขเวทนา |
ข. |
กิเลส |
|
ค. |
อกุศลวิตก |
ง. |
พยาบาท |
|
|
|
|
|
๒๔. |
พิจารณาแล้วบรรเทา หมายถึงบรรเทาอะไร ? |
|
ก. |
ความหิว |
ข. |
ทุกขเวทนา |
|
ค. |
สิ่งเสพติด |
ง. |
อกุศลวิตก |
|
|
|
|
|
๒๕. |
อัปปมัญญา มีอาการแผ่ไปอย่างไร ? |
|
ก. |
เจาะจง |
ข. |
มีขอบเขต |
|
ค. |
ไม่มีประมาณ |
ง. |
ไม่แน่นอน |
|
|
|
|
|
๒๖. |
ทำจิตอย่างไร จึงจะไม่เกิดความริษยา ? |
|
ก. |
ให้อภัย |
ข. |
เห็นอกเห็นใจ |
|
ค. |
พลอยยินดี |
ง. |
วางเฉย |
|
|
|
|
|
๒๗. |
ผู้กลับมาเกิดอีกชาติเดียว หมายถึงพระอริยบุคคลชั้นใด ?
|
|
ก. |
พระโสดาบัน |
ข. |
พระสกทาคามี |
|
ค. |
พระอนาคามี |
ง. |
พระอรหันต์ |
|
|
|
|
|
๒๘. |
การรักษากายวาจาเรียบร้อยดี ไม่มีโทษ จัดเป็นสัมปทาใด ?
|
|
ก. |
สัทธาสัมปทา |
ข. |
สีลสัมปทา |
|
ค. |
จาคสัมปทา |
ง. |
ปัญญาสัมปทา |
|
|
|
|
|
๒๙. |
ธรรมที่เป็นเหตุให้มีความสุขในภพหน้า ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
สัมปรายิกัตถะ |
ข. |
ทิฏฐธัมมิกัตถะ |
|
ค. |
ปรมัตถะ |
ง. |
อธิษฐานธรรม |
|
|
|
|
|
๓๐. |
มรรคใด ละกามราคะได้เด็ดขาด ? |
|
ก. |
โสดาปัตติมรรค |
ข. |
สกทาคามิมรรค |
|
ค. |
อนาคามิมรรค |
ง. |
อรหัตตมรรค |
|
|
|
|
|
๓๑. |
พระพุทธเจ้าทรงแสดงอนุปุพพีกถา เพื่อประโยชน์ใด ?
|
|
ก. |
ทำจิตให้หมดจด |
ข. |
กำจัดกิเลส |
|
ค. |
ละความตระหนี่ |
ง. |
ไม่เห็นแก่ตัว |
|
|
|
|
|
๓๒. |
ก่อนแสดงอริยสัจ ๔ แก่คฤหัสถ์ผู้มีอุปนิสัย ทรงใช้ธรรมหมวดใด ?
|
|
ก. |
อัปปมัญญา |
ข. |
อนุปุพพีกถา |
|
ค. |
อปัสเสนธรรม |
ง. |
บุญกิริยาวัตถุ |
|
|
|
|
|
๓๓. |
ผู้มีจิตใจคับแคบ เป็นคนเห็นแก่ตัว เพราะถูกอะไรครอบงำ ? |
|
ก. |
มัจฉริยะ |
ข. |
มาร |
|
ค. |
นิวรณ์ |
ง. |
อกุศล |
|
|
|
|
|
๓๔. |
ความตระหนี่อะไร จัดเป็นลาภมัจฉริยะ ? |
|
ก. |
ที่อยู่ |
ข. |
สมบัติ |
|
ค. |
ตระกูล |
ง. |
ความรู้ |
|
|
|
|
|
๓๕. |
สิ่งที่ฆ่าบุคคลให้ตายจากคุณความดี ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
มัจฉริยะ |
ข. |
มาร |
|
ค. |
นิวรณ์ |
ง. |
อกุศล |
|
|
|
|
|
๓๖. |
มารใด ตัดโอกาสของบุคคลที่จะก้าวหน้าต่อไปในคุณความดี ? |
|
ก. |
ขันธมาร |
ข. |
อภิสังขารมาร |
|
ค. |
มัจจุมาร |
ง. |
เทวปุตตมาร |
|
|
|
|
|
๓๗. |
กิเลสที่ปิดกั้นจิตไม่ให้บรรลุความดี ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
มัจฉริยะ |
ข. |
กิเลสกาม |
|
ค. |
นิวรณ์ |
ง. |
อกุศล |
|
|
|
|
|
๓๘. |
ผู้ที่มีจิตเดือดดาล มืดมัว มองไม่เห็นบุญบาป เพราะถูกกิเลสใดครอบงำ ?
|
|
ก. |
กามฉันท์ |
ข. |
พยาบาท |
|
ค. |
ถีนมิทธะ |
ง. |
วิจิกิจฉา |
|
|
|
|
|
๓๙. |
สังขารในขันธ์ ๕ ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
สิ่งที่ได้เห็น |
ข. |
สิ่งที่มากระทบ |
|
ค. |
สิ่งที่สัมผัสได้ |
ง. |
สิ่งที่ปรุงแต่งจิต |
|
|
|
|
|
๔๐. |
ความรู้แจ้งอารมณ์ ในเวลาที่รูปมากระทบตาเป็นต้น เรียกว่าอะไร ? |
|
ก. |
เวทนา |
ข. |
สัญญา |
|
ค. |
สังขาร |
ง. |
วิญญาณ |
|
|
|
|
|
๔๑. |
โทมนัสในเวทนา ๕ หมายถึงข้อใด ? |
|
ก. |
ทุกข์กาย |
ข. |
ทุกข์ใจ |
|
ค. |
สุขกาย |
ง. |
สุขใจ |
|
|
|
|
|
๔๒. |
คนราคจริต ควรเจริญกัมมัฏฐานอะไร ? |
|
ก. |
อสุภะ |
ข. |
พรหมวิหาร |
|
ค. |
อนุสสติ |
ง. |
อานาปานัสสติ |
|
|
|
|
|
๔๓. |
คุณของพระธรรม ข้อว่า เอหิปสฺสิโก ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
เห็นได้ด้วยตนเอง |
ข. |
ไม่จำกัดกาล |
|
ค. |
ควรเรียกให้มาดู |
ง. |
ควรน้อมเข้ามา |
|
|
|
|
|
๔๔. |
ธรรมที่ให้ก่อให้เกิดความสามัคคี ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
อปัสเสนธรรม |
ข. |
อปริหานิยธรรม |
|
ค. |
สัปปุริสธรรม |
ง. |
สาราณิยธรรม |
|
|
|
|
|
๔๕. |
ข้อปฏิบัติอันพอดี ที่จะนำไปสู่ความหลุดพ้น ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
มัชฌิมาปฏิปทา |
ข. |
บุญกิริยาวัตถุ |
|
ค. |
ทสบารมี |
ง. |
วิสุทธิ |
|
|
|
|
|
๔๖. |
ผู้ไกลจากกิเลสโดยสิ้นเชิง ตรงกับพุทธคุณข้อใด ? |
|
ก. |
อรหํ |
ข. |
สุคโต |
|
ค. |
พุทฺโธ |
ง. |
ภควา |
|
|
|
|
|
๔๗. |
พระสงฆ์ได้ชื่อว่า สามีจิปฏิปนฺโน เพราะปฏิบัติเช่นไร ? |
|
ก. |
ปฏิบัติดี |
ข. |
ปฏิบัติตรง |
|
ค. |
ปฏิบัติเป็นธรรม |
ง. |
ปฏิบัติสมควร |
|
|
|
|
|
๔๘. |
เป็นผู้ควรของทำบุญ ตรงกับสังฆคุณข้อใด ?
|
|
ก. |
อาหุเนยฺโย |
ข. |
ปาหุเนยฺโย |
|
ค. |
ทกฺขิเณยฺโย |
ง. |
อญฺชลิกรณีโย |
|
|
|
|
|
๔๙. |
การศึกษาธรรมเพื่อให้เกิดความรู้ จัดว่าบำเพ็ญบารมีใด ? |
|
ก. |
ปัญญาบารมี |
ข. |
วิริยบารมี |
|
ค. |
ขันติบารมี |
ง. |
สัจจบารมี |
|
|
|
|
|
๕๐. |
บุญที่เกิดจากการปรับความเห็นให้ตรงและถูกต้อง ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
อปจายนมัย |
ข. |
เวยยาวัจจมัย |
|
ค. |
ปัตติทานมัย |
ง. |
ทิฏฐุชุกัมม์ |
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
เอกสารอ้างอิง |
|
|
|
สนามหลวงแผนกธรรม ปัญหาและเฉลยข้อสอบ พ.ศ.๒๕๖๐. หน้า
สำเนาข้อสอบจริง สอบวันพฤหัสบดีที่ ๙ พฤศจิกายน พ.ศ.๒๕๖๐. |
 |
|