๑. |
สมถกัมมัฏฐานเป็นอุบายให้เกิดอะไร ? |
|
ก. |
ความสงบกาย |
ข. |
ความสงบวาจา |
|
ค. |
ความสงบใจ |
ง. |
ความสงบสุข |
|
|
|
|
|
๒. |
กัมมัฏฐาน หมายถึงอะไร ? |
|
ก. |
การฝึกจิต |
ข. |
การฝึกวินัย |
|
ค. |
การฝึกมารยาท |
ง. |
การฝึกธรรม |
|
|
|
|
|
๓. |
เจริญกัมมัฏฐานใด ทำให้เกิดปัญญา ? |
|
ก. |
สมถะ |
ข. |
วิปัสสนา |
|
ค. |
อสุภะ |
ง. |
อนุสสติ |
|
|
|
|
|
๔. |
ข้อใด จัดเป็นกิเลสกาม ? |
|
ก. |
รูป |
ข. |
เสียง |
|
ค. |
กลิ่น |
ง. |
อิจฉา |
|
|
|
|
|
๕. |
การบูชาเป็นการแสดงออกถึงเรื่องใด ? |
|
ก. |
ยกย่อง |
ข. |
อ้อนวอน |
|
ค. |
ขอพร |
ง. |
เสริมมงคล |
|
|
|
|
|
๖. |
ปฏิสันถารมีความหมายว่าอย่างไร ? |
|
ก. |
การต้อนรับ |
ข. |
การยอมรับ |
|
ค. |
การนับถือ |
ง. |
การสรรเสริญ |
|
|
|
|
|
๗. |
อะไรเป็นเหตุให้เกิดสุขทางใจ ? |
|
ก. |
อำนาจ |
ข. |
ทรัพย์ |
|
ค. |
บริวาร |
ง. |
คุณธรรม |
|
|
|
|
|
๘. |
ผู้ถูกกามวิตกครอบงำ มีพฤติกรรมเช่นไร ? |
|
ก. |
คิดปองร้าย |
ข. |
คิดเบียดเบียน |
|
ค. |
คิดหาลาภในทางผิด |
ง. |
คิดใส่ร้าย |
|
|
|
|
|
๙. |
ข้อใด ไม่จัดเป็นพยาบาทวิตก ? |
|
ก. |
คิดแก้แค้น |
ข. |
คิดอาฆาต |
|
ค. |
คิดเบียดเบียน |
ง. |
คิดปองร้าย |
|
|
|
|
|
๑๐. |
ความคิดเช่นไร จัดเป็นกุศลวิตก ? |
|
ก. |
คิดทำความดี |
ข. |
คิดทำลาย |
|
ค. |
คิดตัดรอน |
ง. |
คิดใส่ร้าย |
|
|
|
|
|
๑๑. |
กุศลวิตก จัดเข้าในมรรค ๘ ข้อใด ? |
|
ก. |
สัมมาทิฏฐิ |
ข. |
สัมมาสังกัปปะ |
|
ค. |
สัมมาวายามะ |
ง. |
สัมมาสมาธิ |
|
|
|
|
|
๑๒. |
ผู้ถูกไฟคือโมหะเผาลนจิตใจ มีลักษณะเช่นไร ? |
|
ก. |
เจ้าชู้ |
ข. |
โลภมาก |
|
ค. |
โกรธง่าย |
ง. |
ไร้เหตุผล |
|
|
|
|
|
๑๓. |
คนมีธรรมเป็นใหญ่ เพราะยึดถืออะไร ? |
|
ก. |
ความถูกต้อง |
ข. |
เสียงข้างมาก |
|
ค. |
กฎกติกา |
ง. |
คำสั่ง |
|
|
|
|
|
๑๔. |
ผู้มีอัตตาธิปเตยยะ คือถืออะไรเป็นใหญ่ ? |
|
ก. |
ตนเอง |
ข. |
พวกพ้อง |
|
ค. |
หมู่ญาติ |
ง. |
บริวาร |
|
|
|
|
|
๑๕. |
ทำความดีตามกระแสนิยม เพื่อให้ผู้อื่นยกย่อง ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
อัตตาธิปเตยยะ |
ข. |
โลกาธิปเตยยะ |
|
ค. |
ค.ธัมมาธิปเตยยะ |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๑๖. |
คำว่า สัจจญาณ หมายถึงหยั่งรู้อะไร ? |
|
ก. |
ทุกข์ |
ข. |
สมุทัย |
|
ค. |
นิโรธ |
ง. |
อริยสัจ |
|
|
|
|
|
๑๗. |
ข้อใด เป็นกิจจญาณในอริยสัจ ๔ ? |
|
ก. |
รู้ความจริง |
ข. |
รู้สิ่งที่ควรทำ |
|
ค. |
รู้สิ่งที่ทำแล้ว |
ง. |
รู้อนาคต |
|
|
|
|
|
๑๘. |
ข้อใด ไม่จัดเป็นกามตัณหา ? |
|
ก. |
อยากมีบ้าน |
ข. |
อยากมีรถ |
|
ค. |
อยากรวย |
ง. |
อยากเป็นเทพ |
|
|
|
|
|
๑๙. |
ข้อใด จัดเป็นวิภวตัณหา ? |
|
ก. |
อยากเป็นเศรษฐี |
ข. |
อยากไปสวรรค์ |
|
ค. |
อยากเป็นพระอรหันต์ |
ง. |
อยากเป็นนักกีฬา |
|
|
|
|
|
๒๐. |
คนที่ถูกห้วงน้ำคือทิฏฐิท่วมทับ มีลักษณะเช่นใด ? |
|
ก. |
ยินดีในกาม |
ข. |
ติดในยศ |
|
ค. |
เห็นผิดเป็นถูก |
ง. |
หลงงมงาย |
|
|
|
|
|
๒๑. |
ข้อใด เป็นผลของการปฏิบัติตามอนุสาสนีปาฏิหาริย์ ? |
|
ก. |
ให้พ้นทุกข์ |
ข. |
ให้พ้นภัย |
|
ค. |
แสดงฤทธิ์ได้ |
ง. |
ทายใจคนได้ |
|
|
|
|
|
๒๒. |
พระสุตตันตปิฎกว่าด้วยเรื่องอะไร ? |
|
ก. |
ระเบียบแบบแผน |
ข. |
คำสั่งและคำสอน |
|
ค. |
ธรรมและบุคคล |
ง. |
ธรรมอย่างเดียว |
|
|
|
|
|
๒๓. |
พุทธจริยาคืออะไร ? |
|
ก. |
บารมีพระพุทธเจ้า |
ข. |
คำสอนพระพุทธเจ้า |
|
ค. |
ประวัติพระพุทธเจ้า |
ง. |
จริยาวัตรพระพุทธเจ้า |
|
|
|
|
|
๒๔. |
พระพุทธองค์เสด็จโปรดพุทธบิดา จัดเป็นจริยาใด ? |
|
ก. |
โลกัตถจริยา |
ข. |
ญาตัตถจริยา |
|
ค. |
พุทธัตถจริยา |
ง. |
อัตถจริยา |
|
|
|
|
|
๒๕. |
วัฏฏะ มีความหมายตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
ความแก่เจ็บตาย |
ข. |
การหมุนของกรรม |
|
ค. |
ความไม่เที่ยงเป็นทุกข์ |
ง. |
การเวียนว่ายตายเกิด |
|
|
|
|
|
๒๖. |
เพราะเหตุใดมนุษย์จึงเวียนว่ายตายเกิด ? |
|
ก. |
ทำกรรมชั่ว |
ข. |
รับผลกรรม |
|
ค. |
มีกิเลสกรรมวิบาก |
ง. |
มีโลกนี้โลกหน้า |
|
|
|
|
|
๒๗. |
ข้อใด จัดเป็นอธิจิตตสิกขา ? |
|
ก. |
สัมมาทิฏฐิ |
ข. |
สัมมากัมมันตะ |
|
ค. |
สัมมาอาชีวะ |
ง. |
สัมมาสมาธิ |
|
|
|
|
|
๒๘. |
ถูกทำร้ายแต่ไม่คิดจองเวร ชื่อว่าปฏิบัติตามอปัสเสนธรรมข้อใด ? |
|
ก. |
พิจารณาแล้วเสพ |
ข. |
พิจารณาแล้วอดกลั้น |
|
ค. |
พิจารณาแล้วเว้น |
ง. |
พิจารณาแล้วบรรเทา |
|
|
|
|
|
๒๙. |
การภาวนาข้อใด จัดเป็นอัปปมัญญา ? |
|
ก. |
ไม่เจาะจง |
ข. |
เจาะจงบุคคล |
|
ค. |
เจาะจงสัตว์ |
ง. |
เจาะจงตนเอง |
|
|
|
|
|
๓๐. |
ข้อใด มีความหมายตรงกับพระโสดาบัน ? |
|
ก. |
ผู้ถึงกระแสนิพพาน |
ข. |
ผู้จะเกิดอีกครั้งเดียว |
|
ค. |
ผู้ไม่มาสู่โลกนี้อีก |
ง. |
ผู้ไกลจากกิเลส |
|
|
|
|
|
๓๑. |
เมื่อความทุกข์เกิดขึ้น ควรปฏิบัติอย่างไร ? |
|
ก. |
ควรทำให้เจริญ |
ข. |
ควรทำให้แจ้ง |
|
ค. |
ควรละ |
ง. |
ควรกำหนดรู้ |
|
|
|
|
|
๓๒. |
สมุทัยคือเหตุแห่งทุกข์เกิดขึ้น ควรปฏิบัติอย่างไร ? |
|
ก. |
ควรทำให้เจริญ |
ข. |
ควรทำให้แจ้ง |
|
ค. |
ควรละ |
ง. |
ควรกำหนดรู้ |
|
|
|
|
|
๓๓. |
ผู้ต้องได้รับการอุปสมบทจากสงฆ์ ๒ ฝ่าย ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
ภิกษุ |
ข. |
ภิกษุณี |
|
ค. |
อุบาสก |
ง. |
อุบาสิกา |
|
|
|
|
|
๓๔. |
ผู้สักแต่ว่าฟังแต่ไม่สามารถรับคำแนะนำได้ ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
อุคฆติตัญญู |
ข. |
วิปจิตัญญู |
|
ค. |
เนยยะ |
ง. |
ปทปรมะ |
|
|
|
|
|
๓๕. |
ผู้รู้ธรรมเพียงแค่ฟังหัวข้อ ได้แก่บุคคลประเภทใด ? |
|
ก. |
อุคฆติตัญญู |
ข. |
วิปจิตัญญู |
|
ค. |
เนยยะ |
ง. |
ง.ปทปรมะ |
|
|
|
|
|
๓๖. |
อริยบุคคลระดับใด ไม่สามารถอยู่ครองเพศคฤหัสถ์ได้ ? |
|
ก. |
โสดาบัน |
ข. |
สกทาคามี |
|
ค. |
อนาคามี |
ง. |
อรหันต์ |
|
|
|
|
|
๓๗. |
อริยบุคคลชั้นไหน ละกามราคะได้ ? |
|
ก. |
โสดาบัน |
ข. |
สกทาคามี |
|
ค. |
อนาคามี |
ง. |
ถูกทุกข้อ |
|
|
|
|
|
๓๘. |
อริยบุคคลชั้นไหน ละสังโยชน์ทั้ง ๑๐ ได้ ? |
|
ก. |
โสดาบัน |
ข. |
สกทาคามี |
|
ค. |
อนาคามี |
ง. |
อรหันต์ |
|
|
|
|
|
๓๙. |
สัคคกถากล่าวถึงเรื่องใด ? |
|
ก. |
ทาน |
ข. |
ศีล |
|
ค. |
สวรรค์ |
ง. |
ออกบวช |
|
|
|
|
|
๔๐. |
ความตระหนี่อะไร จัดเป็นวัณณมัจฉริยะ ? |
|
ก. |
ความดี |
ข. |
ความรู้ |
|
ค. |
ที่อยู่ |
ง. |
ตระกูล |
|
|
|
|
|
๔๑. |
คำว่า มาร เป็นสิ่งที่ล้างผลาญอะไร ? |
|
ก. |
ความดี |
ข. |
ความชั่ว |
|
ค. |
ความเศร้าหมอง |
ง. |
ความทุกข์ |
|
|
|
|
|
๔๒. |
ความป่วยไข้ จัดเป็นมารประเภทใด ? |
|
ก. |
ขันธมาร |
ข. |
กิเลสมาร |
|
ค. |
อภิสังขารมาร |
ง. |
มัจจุมาร |
|
|
|
|
|
๔๓. |
อุเบกขาในเวทนา ๕ หมายถึงวางเฉยในสิ่งใด ? |
|
ก. |
หมู่สัตว์ |
ข. |
ความดี |
|
ค. |
การงาน |
ง. |
สุขทุกข์ |
|
|
|
|
|
๔๔. |
คนมีปกติรักสวยรักงาม ควรแก้ด้วยกัมมัฏฐานใด ? |
|
ก. |
อสุภะ |
ข. |
เมตตา |
|
ค. |
อานาปานสติ |
ง. |
อนุสสติ |
|
|
|
|
|
๔๕. |
คนสัทธาจริต มีลักษณะเช่นใด ? |
|
ก. |
เชื่อง่าย |
ข. |
โกรธง่าย |
|
ค. |
เขลางมงาย |
ง. |
รักสวยรักงาม |
|
|
|
|
|
๔๖. |
ธรรมคุณว่า ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญูหิ ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
ไม่จำกัดกาล |
ข. |
เรียกให้มาดู |
|
ค. |
รู้ได้เฉพาะตน |
ง. |
น้อมมาใส่ตน |
|
|
|
|
|
๔๗. |
ธรรมข้อใด เปรียบเหมือนรถ ๗ ผลัด ? |
|
ก. |
อริยทรัพย์ ๗ |
ข. |
โพชฌงค์ ๗ |
|
ค. |
อปริหานิยธรรม ๗ |
ง. |
วิสุทธิ ๗ |
|
|
|
|
|
๔๘. |
พุทธคุณว่า ภควา ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
ผู้ไกลจากกิเลส |
ข. |
ผู้เสด็จไปดี |
|
ค. |
ผู้รู้แจ้งโลก |
ง. |
ผู้มีโชค |
|
|
|
|
|
๔๙. |
สังฆคุณว่า ายปฏิปนฺโน ตรงกับข้อใด ? |
|
ก. |
ปฏิบัติดี |
ข. |
ปฏิบัติตรง |
|
ค. |
ปฏิบัติเพื่อรู้แจ้ง |
ง. |
ปฏิบัติสมควร |
|
|
|
|
|
๕๐. |
พระมหาชนกโพธิสัตว์ ทรงยิ่งด้วยบารมีใด ? |
|
ก. |
วิริยบารมี |
ข. |
ขันติบารมี |
|
ค. |
ทานบารมี |
ง. |
ศีลบารมี |
|
|
|
|
|
 |
|
|
|
เอกสารอ้างอิง |
|
|
|
เรื่องสอบธรรม ของสนามหลวงแผนกธรรม พ.ศ.๒๕๕๖. หน้า ๒๑๑-๒๒๑.
ข้อสอบจริง สอบวันที่ ๒๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๖ เวลา ๑๓.๐๐ - ๑๓.๕๐ น. |
 |
|