๑.
อตฺตทตฺถํ ปรตฺเถน
พหุนาปิ น หาปเย
อตฺตทตฺถมภิญฺาย
สทตฺถปสุโต สิยา
.
บุคคไม่ควรพล่าประโยชน์ของตน เพราะประโยชน์ผู้อื่นแม้มาก
รู้จักประโยชน์ของตนแล้ว พึงขวนขวายในประโยชน์ขอตน.
(พุทฺธ)
ขุ. ธ. ๒๕/๓๗.
๒.
อตฺตานญฺเจ ตถา กยิรา
ยถญฺมนุสาสติ
สุทนฺโต วต ทเมถ
อตฺตา หิ กิร ทุทฺทโม
.
ถ้าสอนผู้อื่นฉันใด พึงทำตนฉันนั้น ผู้ฝึกตนดีแล้ว ควรฝึก
ผู้อื่น ได้ยินว่าตนแลฝึกยาก.
(พุทฺธ)
ขุ. ธ. ๒๕/๓๖.
๓.
อตฺตานเมว ปมํ
ปฏิรูเป นิเวสเย
อถญฺมานุสาเสยฺย
น กิลิสฺเสยฺย ปณฺฑิโต
.
บัณฑิตพึงตั้งตนไว้ในคุณอันสมควรก่อน สอนผู้อื่นภายหลัง
จึงไม่มัวหมอง.
(พุทฺธ)
ขุ. ธ. ๒๕/๓๖.
อัตตวรรค คือ หมวดตน
พุทธศาสนสุภาษิต
๑. หมวดตน
๒. หมวดไม่ประมาท
๓. หมวดกรรม
๔. หมวดกิเลส
๕. หมวดอดทน
๖. หมวดจิต
๗. หมวดทาน
๘. หมวดธรรม
๙. หมวดเบ็ดเตล็ด
๑๐. หมวดปัญญา
๑๑. หมวดประมาท
๑๒. หมวดบาป
๑๓. หมวดบุคคล
๑๔. หมวดบุญ
๑๕. หมวดความตาย
๑๖. หมวดวาจา
๑๗. หมวดความเพียร
๑๘. หมวดศรัทธา
๑๙. หมวดศีล
๒๐. หมวดคบหา
อักษรย่อนามคัมภีร์