|
๔. |
อปฺปมตฺโต ปมตฺเตสุ |
สุตฺเตสุ พหุชาคโร |
|
อพลสฺสํว สีฆสฺโส |
หิตฺวา ยาติ สุเมธโส. |
|
คนมีปัญญาดี ไม่ประมาทในเมื่อผู้อื่นประมาท มักตื่นในเมื่อ
ผู้อื่นหลับ ย่อมละทิ้ง (คนโง่) เหมือนม้าฝีเท้าเร็ว ทิ้งม้า
ไม่มีกำลังไปฉะนั้น. |
|
(พุทฺธ) |
ขุ. ธ. ๒๕/๑๘,๑๙. |
|
|
|
๕. |
อุฏฺานวโต สติมโต |
สุจิกมฺมสฺส นิสมฺมการิโน |
|
สญฺตสฺส จ ธมฺมชีวิโน |
อปฺปมตฺตสฺส ยโสภิวฑฺฒติ. |
|
ยศย่อมเจริญ แก่ผู้มีความหมั่น มีสติ มีการงานสะอาด
ใคร่ครวญแล้วทำ ระวังดีแล้ว เป็นอยู่โดยธรรม และไม่ประมาท. |
|
(พุทฺธ) |
ขุ. ธ. ๒๕/๑๘. |
|
|
|
๖. |
มา ปมาทมนุญฺเชถ |
มา กามรติสนฺถวํ |
|
อปฺปมตฺโต หิ ฌายนฺโต |
ปปฺโปติ ปรมํ สุขํ. |
|
อย่ามัวแต่ประมาท อย่ามัวแต่สนิทชิดชอบในกาม เพราะผู้ไม่
ประมาท พิจารณาอยู่ ย่อมถึงบรมสุข. |
|
(พุทธ) |
สํ. ส. ๑๕/๓๖. |
|
|
|
อัปปมาทวรรค คือ หมวดไม่ประมาท |
|
|