๑๖๔. |
กลฺยาณิเมว มุญฺเจยฺย |
น หิ มุญฺเจยฺย ปาปิกํ |
|
โมกฺโข กลฺยาณิยา สาธุ |
มุตฺวา ตปฺปติ ปาปิกํ. |
|
พึงเปล่งวาจางามเท่านั้น ไม่พึงเปล่งวาจาชั่วเลย การเปล่งวาจา
งามยังประโยชน์ให้สำเร็จ คนเปล่าวาจาชั่วย่อมเดือดร้อน. |
|
(พุทฺธ) |
ขุ. ชา. เอก. ๒๗/๒๘. |
|
|
|
๑๖๕. |
ตเมว วาจํ ภาเสยฺย |
ยายตฺตานํ น ตาปเย |
|
ปเร จ น วิหึเสยฺย |
สา เว วาจา สุภาสิตา. |
|
บุคคลพึงกล่าววาจาที่ไม่เป็นเหตุยังตนให้เดือดร้อน และไม่เป็น
เหตุเบียดเบียนผู้อื่น, วาจานั้นแล เป็นสุภาษิต. |
|
(วงฺคีสเถร) |
ขุ. สุ. ๒๕/๔๑๑. |
|
|
|
๑๖๖. |
นาติเวลํ ปภาเสยฺย |
น ตุณฺหี สพฺพทา สิยา |
|
อวิกิณฺณํ มิตํ วาจํ |
ปตฺเต กาเล อุทีริเย. |
|
ไม่ควรพูดจนเกินกาล ไม่ควรนิ่งเสมอไป เมื่อถึงเวลา ก็ควรพูด
พอประมาณ ไม่ฟั่นเฝือ. |
|
(พุทฺธ) |
ขุ. ชา. มหา. ๒๘/๓๓๘. |
|
|
|
๑๖๗. |
ปิยวาจเมว ภาเสยฺย |
ยา วาจา ปฏินนฺทิตา |
|
ยํ อนาทาย ปาปานิ |
ปเรสํ ภาสเต ปิยํ. |
|
ควรกล่าววาจาที่น่ารักอันผู้ฟังยินดีเท่านั้น เพราะคนดีไม่นำพา
คำชั่วของผู้อื่นแล้ว กล่าวแต่คำไพเราะ. |
|
(วงฺคีสเถร) |
ขุ. สุ. ๒๕/๔๑๒. |
|
|
|
๑๖๘. |
ปุริสสฺส หิ ชาตสฺส |
กุธารี ชายเต มุเข |
|
ยาย ฉินฺทติ อตฺตานํ |
พาโล ทุพฺภาสิตํ ภณํ. |
|
คนที่เกิดมา มีผึ่งเกิดอยู่ในปาก คนโง่กล่าวคำไม่ดี ก็ชื่อว่า
เอาผึ่งถากตัวเอง. |
|
(พุทฺธ) |
องฺ. ทสก. ๒๔/๑๘๕. |
|
|
|
๑๖๙. |
ยญฺหิ กยิรา ตญฺหิ วเท |
ยํ น กยิรา น ตํ วเท |
|
อกโรนฺตํ ภาสมานํ |
ปริชานนฺติ ปณิฑิตา. |
|
บุคคลทำสิ่งใด ควรพูดสิ่งนั้น ไม่ทำสิ่งใด ไม่ควรพูดสิ่งนั้น,
บัณฑิตย่อมกำหนดรู้คนที่ไม่ทำ ได้แต่พูด. |
|
(หาริตเถร) |
ขุ. เถร. ๒๖/๓๐๙. |
|
|
|
๑๗๐. |
โย อตฺตเหตุ ปรเหตุ |
ธนเหตุ จ โย นโร |
|
สกฺขิปุฏฺโ มุสา พฺรูติ |
ตํ ชญฺา วสโล อิติ. |
|
คนใด ถูกอ้างเป็นพยาน เบิกความเท็จ เพราะตนก็ดี เพราะ
ผู้อื่นก็ดี เพราะทรัพย์ก็ดี พึงรู้ว่าผู้นั้นเป็นคนเลว. |
|
(พุทฺธ) |
ขุ. สุ. ๒๕/๓๕๐. |
|
|
|
๑๗๑. |
โย นินฺทิยํ ปสํสติ |
ตํ วา นินฺทติ โย ปสํสิโย |
|
วิจินาติ มุเขน โส กลึ |
กลินา เตน สุขํ น วินฺทติ. |
|
ผู้ใดสรรเสริญคนควรติ หรือติคนที่ควรสรรเสริญ, ผู้นั้นย่อม
เก็บโทษด้วยปาก เขาไม่ได้สุขเพราะโทษนั้น. |
|
(พุทธฺ) |
องฺ. จตุกฺก. ๒๑/๔. |
|
|
|
๑๗๒. |
สหสฺสมปิ เจ วาจา |
อนตฺถปทสญฺหิตา |
|
เอกํ อตฺถปทํ เสยฺโย |
ยํ สุตฺวา อุปสมฺมติ. |
|
ถ้ามีวาจาที่ประกอบด้วยข้อความซึ่งเป็นประโยชน์แม้ตั้งพัน,
ข้อความที่เป็นประโยชน์ บทเดียว ที่ฟังแล้วสงบระงับได้
ประเสริฐกว่า. |
|
(พุทฺธ) |
ขุ. ธ. ๒๕/๒๘. |
|
|
|